ตรวจดู ชำระดูว่า
อะไรที่ทำให้เราไม่ได้สมาธิ
ความดีอะไรที่ยังไม่ค่อยมี
ไปหัดซะ
อะไรไม่เหมาะเอาออกไปซะ
รวมๆ แล้ว สมาธิก็ต้องใช้ทั้งฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสามานั่นแหละ
วันจันทร์ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562
ปธานสังขาร
แปล การปรุงแต่งตามหลักสัมมัปปธาน
ฉะนั้นไม่ใช่ไม่ปรุงแต่ง
ทำสมาธิอย่าไปปรุงแต่ง
เป็นคำพูดที่ไม่ถูก
จะได้สมาธิต้องปรุงแต่ง แต่ต้องปรุงแต่งให้ถูก
ต้องทำแบบปธานสังขาร
ปรุงตั้งแต่ท่าทาง สถานที่ ความคิดนึก่อนนั่ง
ดังนั้นอย่าไปปรุงแต่งคือ อย่าไปปรุงแต่งฝ่ายไม่ดี
ฉะนั้นไม่ใช่ไม่ปรุงแต่ง
ทำสมาธิอย่าไปปรุงแต่ง
เป็นคำพูดที่ไม่ถูก
จะได้สมาธิต้องปรุงแต่ง แต่ต้องปรุงแต่งให้ถูก
ต้องทำแบบปธานสังขาร
ปรุงตั้งแต่ท่าทาง สถานที่ ความคิดนึก่อนนั่ง
ดังนั้นอย่าไปปรุงแต่งคือ อย่าไปปรุงแต่งฝ่ายไม่ดี
วันอาทิตย์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562
ฐิตาว สา ธาตุ
ธาตุนั้นเป็นสิ่งที่ดำรงอยู่แล้วนั่นเทียว
ธาตุในที่นี้หมายถึง
ชาติปัจจะยา ชะรามะระณัง นี่แหละ
ธาตุในที่นี้หมายถึง
ชาติปัจจะยา ชะรามะระณัง นี่แหละ
อิทัปปัจจยตาปฏิจจสมุปบาท
อิทัปปัจจยตา
ใช้กับได้ทั้งภายในภายนอก
ได้กับหลายเรื่อง
ปฏิจจสมุปบาท
ใช้ในความหมายแคบ
หมายถึงการเชื่อมโยงของ 12 อย่าง
ด้วยการเชื่อมต่อ 11 เท่านั้น
ท่านจึงไม่ได้ให้เรียนทั้งหมด
ให้เรียนเฉพาะที่เป็นปฏิจจสมุปบาท
ใช้กับได้ทั้งภายในภายนอก
ได้กับหลายเรื่อง
ปฏิจจสมุปบาท
ใช้ในความหมายแคบ
หมายถึงการเชื่อมโยงของ 12 อย่าง
ด้วยการเชื่อมต่อ 11 เท่านั้น
ท่านจึงไม่ได้ให้เรียนทั้งหมด
ให้เรียนเฉพาะที่เป็นปฏิจจสมุปบาท
วันเสาร์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562
รวมคำพูด(ชวนเข้าใจ)ผิด
อย่าไปปรุงแต่งเลย
- ใหม่ๆ พูดได้ เพราะความคิดเลอะเทอะเยอะ
- ในขั้นสูงขึ้นไป ไม่ควรพูด เพราะอริยมรรคก็เป็นสังขารที่ต้องถูกปรุงขึ้น
- ที่ควรพูดคือ อย่าไปปรุงแต่งเลวๆ
ใจแคบคิดจะไปนิพพาน ไม่ช่วยผู้อื่น
- เราอยากให้คุณมีความสุข แต่เรารู้ว่าความสุขนั้นย่อมเป็นไปตามกรรม คุณต้องทำดีเอาเอง
- คิดดี ตัวเองก็มีความสุข คนอื่นก็มีความสุขไปด้วย "ไม่ใช่เพื่อผู้อื่น" แต่มีประโยชน์ต่อผู้อื่น
- การทำให้ถูกต้องนั้นเป็นปฏิปทาเพื่อตนไปนิพพาน แต่ไม่ใช่เพื่อผู้อื่น
- วิธีจะช่วยผู้อื่นคือช่วยให้เขาช่วยตัวเอง เพราะเราไม่ได้อยู่ช่วยใครตลอดไป การออกไปจากเขา ไม่ไปสุขไปทุกข์กับเขาเป็นการช่วยเขาที่ดีที่สุด สมมติท่านเศร้าโศกอยู่ ท่านจะไปหาใครระหว่างคนเศร้าโศกไปด้วยกัน หรือคนไม่เศร้าโศก
- ออกจากโลกจึงช่วยโลกได้ดีที่สุด ไม่ติดข้องกับเขา จึงจะช่วยเขาได้ดีที่สุด นี่คือเนกขัมมะสังกัปะ
- "อยู่กันเหมือนปศุสัตว์หรือจึงไม่พูดกัน?" พระพุทธเจ้ากล่าว
- ถ้าจะงดพูดก็ต้องรู้ว่าเป็นการฝึก เป็นการขัดเกลาอะไรก็ว่าไป แต่ต้องรู้ว่าการงดพูดนั้นไม่ใช่สัมมาวาจา
- สัมมาวาจาที่แล้วจริง คือการทำฝ่ายตรงข้ามขึ้นมาแทนที่ด้วยปัญญา
- ที่ถูกคือ เข้าใจได้ แต่ยาก
- ผิดเพราะกรรมเป็นสังขาร
- กฎของกรรม ก็จะอยู่ใต้กฏสังขารอีกต่อหนึ่ง
- ฉะนั้น ทำดีได้ดี ไม่แน่ ทำชั่วได้ชั่ว ไม่แน่
- นี่ก็ไม่แน่
- ไม่เที่ยงยังหมายถึง แต่เดิมไม่มี แล้วมามีขึ้นด้วย
อริยสาวกกับการรวมองค์มรรค
ในมรรคข้อ 5 สัมมาอาชีโว
ตัตถะ กะตะโม สัมมาอาชีโว,
อิธะ อะริยะสาวโก มิจฉาอาชีวัง ปะหายะ,
สัมมาอาชีเวนะ ชีวิกัง กัปเปติ,
อะยัง วุจจะติ สัมมาอาชีโว
มีกล่าวถึงว่า
บรรดาองค์ ๘ เหล่านั้น สัมมาอาชีวะเป็นอย่างไร,
อริยสาวกในพระธรรมวินัยนี้ละมิจฉาอาชีวะแล้ว,
สำเร็จการเลี้ยงชีวิตด้วยสัมมาอาชีวะ,
นี้เรียกว่าสัมมาอาชีวะ
มรรค 4 ข้อเบื้องต้นไม่ได้กล่าวแจกแจงถึงใคร
แต่มรรคข้อนี้ระบุว่า "อริยสาวก"
ความหมายคือ
ตัตถะ กะตะโม สัมมาอาชีโว,
อิธะ อะริยะสาวโก มิจฉาอาชีวัง ปะหายะ,
สัมมาอาชีเวนะ ชีวิกัง กัปเปติ,
อะยัง วุจจะติ สัมมาอาชีโว
มีกล่าวถึงว่า
บรรดาองค์ ๘ เหล่านั้น สัมมาอาชีวะเป็นอย่างไร,
อริยสาวกในพระธรรมวินัยนี้ละมิจฉาอาชีวะแล้ว,
สำเร็จการเลี้ยงชีวิตด้วยสัมมาอาชีวะ,
นี้เรียกว่าสัมมาอาชีวะ
มรรค 4 ข้อเบื้องต้นไม่ได้กล่าวแจกแจงถึงใคร
แต่มรรคข้อนี้ระบุว่า "อริยสาวก"
ความหมายคือ
- ถ้าปรารถนาพุทธภูมิ มรรคจะไม่รวม
- ถ้าปรารถนาปัจเจก มรรคจะไม่รวม
- ถ้าปรารถนาจะบรรลุในพระพุทธเจ้าองค์อื่น มรรคจะไม่รวม
วันอาทิตย์ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562
วาระที่ความเห็นยังผิดอยู่
วาระที่ความเห็นยังผิดอยู่ ปลายปี 2562
- กามราคะ 肌肤之亲
- คิดเปรียบเทียบแล้วอิจฉา ความเป็นที่รัก ความเป็นคนโปรด
- ในสถานการณ์ใหม่ จะปรากฏมารยาเด็ก
- ความไม่ขอ ไม่อยากขอ ไม่ชอบขอ ไม่ยอมขอ
- ความกลับเข้าสู่ความหดหู่และเห็นมันเป็น default state
วันศุกร์ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562
ศรัทธาเยอะจะงมงาย? ปัญญาเยอะจะหัวแข็ง?
พวกคำเตือนในการปรับอินทรีย์ที่ได้ยินบ่อยๆ
ระวังนะ...ศรัทธาเยอะไปจะงมงายนะ
ระวังนะ...ปัญญามากๆ จะหัวแข็ง
ระวังนะ...สมาธิเยอะๆ จะขี้เกียจ
ระวังนะ...เพียรเกินไปจะฟุ้งซ่าน
ต่างกรรมต่างวาระ
ถ้าอินทรีย์ยังไม่สมดุล มือใหม่ ฝึกใหม่
คำเหล่านี้คือคำเตือน เป็นจุดสังเกตให้คอยดูเผื่อเผลอเข้าใจผิดไปว่าทำถูกต้องแล้ว
แต่ถ้าผู้ฝึกมาโดยถูกต้องแล้ว...ยิ่งเยอะยิ่งดี
1) ทำให้ถูก (เสียก่อน)
2) (จากนั้น) ทำให้พอ
---
ปัญญาเยอะจะหัวแข็ง
ป่าว หัวแข็งไม่ใช่เพราะปัญญา แต่ทิฏฐิตะหาก
และเป็นตัวบอกว่า โดนหลอกแล้ว
เป็นกิเลส เป็นทิฏฐิไปแล้ว
ศรัทธายิ่งเยอะยิ่งดี...ถูกแล้ว
ไอ้คำว่า "ระวังศรัทธาเยอะไปนะ เดี๋ยวงมงาย"
เขาเอาไว้เตือนพวกงมงายเฉยๆ เอาไว้เตือนพวกคนใหม่
แต่ถ้าศรัทธาถูกแล้ว ยิ่งเยอะยิ่งดี !!!
นึกว่าเป็นสมาธิแต่ง่วงหงาวหาวนอน
อันนี้ไม่ใช่สมาธิแล้ว
ไม่มีศักยภาพในการรับรู้ สมาธิคือศักยภาพในการรับรู้
นึกว่าเป็นความเพียร
แต่ฟุ้งไปเรื่อย
อันนี้ก็ผิดไปแล้ว
แต่ถ้าความเพียรถูกแล้ว "ยิ่งเยอะยิ่งดี"
ระวังนะ...ศรัทธาเยอะไปจะงมงายนะ
ระวังนะ...ปัญญามากๆ จะหัวแข็ง
ระวังนะ...สมาธิเยอะๆ จะขี้เกียจ
ระวังนะ...เพียรเกินไปจะฟุ้งซ่าน
ต่างกรรมต่างวาระ
ถ้าอินทรีย์ยังไม่สมดุล มือใหม่ ฝึกใหม่
คำเหล่านี้คือคำเตือน เป็นจุดสังเกตให้คอยดูเผื่อเผลอเข้าใจผิดไปว่าทำถูกต้องแล้ว
แต่ถ้าผู้ฝึกมาโดยถูกต้องแล้ว...ยิ่งเยอะยิ่งดี
1) ทำให้ถูก (เสียก่อน)
2) (จากนั้น) ทำให้พอ
---
ปัญญาเยอะจะหัวแข็ง
ป่าว หัวแข็งไม่ใช่เพราะปัญญา แต่ทิฏฐิตะหาก
และเป็นตัวบอกว่า โดนหลอกแล้ว
เป็นกิเลส เป็นทิฏฐิไปแล้ว
ศรัทธายิ่งเยอะยิ่งดี...ถูกแล้ว
ไอ้คำว่า "ระวังศรัทธาเยอะไปนะ เดี๋ยวงมงาย"
เขาเอาไว้เตือนพวกงมงายเฉยๆ เอาไว้เตือนพวกคนใหม่
แต่ถ้าศรัทธาถูกแล้ว ยิ่งเยอะยิ่งดี !!!
นึกว่าเป็นสมาธิแต่ง่วงหงาวหาวนอน
อันนี้ไม่ใช่สมาธิแล้ว
ไม่มีศักยภาพในการรับรู้ สมาธิคือศักยภาพในการรับรู้
นึกว่าเป็นความเพียร
แต่ฟุ้งไปเรื่อย
อันนี้ก็ผิดไปแล้ว
แต่ถ้าความเพียรถูกแล้ว "ยิ่งเยอะยิ่งดี"
วันพฤหัสบดีที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562
อริยสัจตามลำดับ
วิธีของพระพุทธเจ้าคือ
เห็นความเกิด เห็นความดับของสิ่งต่างๆ
เห็นความเกิดความดับแล้วจะได้ละสมุทัย
จึงจะถึงนิโรธภายหลัง
เป็นตามลำดับอย่างนี้
การกระโดดข้ามจากรู้ทุกข์
พาไปนิพพานเลย
มันก็ไม่ใช่ จะบัญญัติอะไรมามันก็ไม่ใช่นิพพานอยู่ดี
พระพุทธเจ้ากำหนดให้รู้ทุกข์ เพื่อให้แจ้งนิพพานนั่นแหละ
แต่มันต้องผ่านไปโดยกำหนดรู้และยอมรับทุกข์ก่อน (1)
แล้วก็เห็นสมุทัย แล้วละสมุทัย (2)
จึงแจ้งนิโรธ (3)
ไม่ใช่ว่าเดี๋ยวพาเข้า-พาออกนิพพาน
เห็นความเกิด เห็นความดับของสิ่งต่างๆ
เห็นความเกิดความดับแล้วจะได้ละสมุทัย
จึงจะถึงนิโรธภายหลัง
เป็นตามลำดับอย่างนี้
การกระโดดข้ามจากรู้ทุกข์
พาไปนิพพานเลย
มันก็ไม่ใช่ จะบัญญัติอะไรมามันก็ไม่ใช่นิพพานอยู่ดี
พระพุทธเจ้ากำหนดให้รู้ทุกข์ เพื่อให้แจ้งนิพพานนั่นแหละ
แต่มันต้องผ่านไปโดยกำหนดรู้และยอมรับทุกข์ก่อน (1)
แล้วก็เห็นสมุทัย แล้วละสมุทัย (2)
จึงแจ้งนิโรธ (3)
ไม่ใช่ว่าเดี๋ยวพาเข้า-พาออกนิพพาน
วาทะนอกศาสนา และการมองให้เป็นทุกข์
บรรดาวาทะนอกศาสนา
วาทะว่า
‘ถ้าเราจักไม่ได้มีแล้ว อัตภาพนี้ก็ไม่พึงมี
แก่เรา ถ้าเราจักไม่มี
ความกังวลอะไรจักไม่มีแก่เรา’
นี้เป็นเลิศ
---
อัตตานี้เป็นเพียงวาทะ เป็นเพียงบัญญัติ เป็นแค่คำพูดคน
ผู้ภาวนาไม่ได้มีหน้าที่ไปยุ่งอะไรกับมัน
เช่น พูดว่า "นางสาวเอ" เนี่ย มันก็เป็นแค่บัญญัติ
ไม่ต้องไปบอกว่า "นางสาวเอ" ไม่มี๊~~~ แม่นางสาวเอก็ไม่มี
จะไปพูดมันทำอะไร !!!
ก็มันเป็นแค่บัญญัติ จะไป "มี" "ไม่มี" ทำอะไร
ก็ข้ามบัญญัติไปเสีย
ตัวตน-ไม่ตัวตน นี่ก็แค่สมมติเฉยๆ เอาไว้ใช้สื่อสาร
มองทะลุนางสาวเอไป ให้เห็นธาตุ 4 เห็นขันธ์ 5
มองให้เห็นทุกขสัจ
ทำอะไรก็ต้องมองให้มันเป็นทุกข์ให้ได้
ทำยังไงให้มันเป็นทุกข์ล่ะ?
วิธีฝึกมอง
ก็กำหนดให้มันเป็นขันธ์ 5 ให้ได้ก่อน
แล้วมันจะเป็นทุกข์ยังไง มันต้องไม่เที่ยงให้ได้
เพราะสิ่งใดไม่เที่ยงสิ่งนั้นเป็นทุกข์ ! (ต้องจำแม่นๆ)
อะไรโผล่มาจะต้องกำหนดให้มันเป็นทุกข์
ถ้าไม่เห็น...จะต้องกำหนดให้มันเป็นขันธ์ 5
มันจะต้องเป็น 1 ในขันธ์ 5 นั่นแหละ
ถ้าไม่ใช่ขันธ์ 5 มันจะโผล่มาไม่ได้หรอก
ต้องชัดเจน
ทีนี้ต้องให้มันเป็นทุกข์ให้ได้
ก็ต้องบอกว่า 'มันไม่เที่ยง'
จะทำยังไงให้มันไม่เที่ยง - นี่เป็นสิ่งที่ต้องใส่ใจไว้เสมอ
วันพุธที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562
อภิภายตนะ
ครอบอารมณ์ อะไรเกิดขึ้นครอบทับไปเลย เรียก อภิภายตนะ
เปลี่ยนอารมณ์
ก็ทำได้ด้วยการเปลี่ยนสัญญา
อะไรเกิดขึ้นครอบทับเลย
เวทนาแรงๆ เปลี่ยนช่องเลย
เปลี่ยนอารมณ์
ก็ทำได้ด้วยการเปลี่ยนสัญญา
อะไรเกิดขึ้นครอบทับเลย
เวทนาแรงๆ เปลี่ยนช่องเลย
วันอาทิตย์ที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562
情感是真的 - 是因为 (以为) "他 (它)" 也是真的
情感永远是真的
没有人能否认情感
而你是想回头
是因为你想确认
他也是真的对不对?
可见
你除了在意自己的情感是真的
你还会在意这件事情到底是不是真的
没有人能否认情感
而你是想回头
是因为你想确认
他也是真的对不对?
可见
你除了在意自己的情感是真的
你还会在意这件事情到底是不是真的
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)