"ครั้นรู้ยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวง ย่อมรอบรู้ซึ่งธรรมทั้งปวง"
สพฺพํ ธมฺมํ อภิญฺญาย สพฺพํ ธมฺมํ ปริชานาติ
รู้รอบ (ปริชานาติ)
หมายถึง รู้โดยละเอียดลงไป
เช่น อภิชานาติ คือรู้ขันธ์ รู้ว่ารูปเป็นรูป
ปริชานาติ คือรู้ลึกลงไปถึงธรรมชาติของรูปนั้น ว่าไม่เที่ยง
แล้วมันไม่เที่ยงเพราะอะไร ก็เพราะมันเกิดมันดับ
รู้ด้วยว่าทำไมมันเกิดดับ ก็เพราะมันเกิดจากปัจจัยอันหลากหลาย
และปัจจัยก็ล้วนไม่เที่ยง ตัวมันที่เกิดจากปัจจัยจึงไม่เที่ยง
อภิชานาติ (เต็มๆ จะต้องแปลว่า รู้ยิ่ง (โยค ด้วยญาตปริญญา เข้ามาแปลด้วย คำแปลจึงจะสมบูรณ์))
จะเป็นลักษณะของ ญาตปริญญา
คือรู้ชัดเจนว่าอะไรเป็นอะไร
เห็นตัวธรรม เห็นสภาวะว่าแต่ละตัวเป็นอย่างไร
ปริชานาติ (เต็มๆ จะต้องแปลว่า รอบรู้ (โยค ด้วยตีรณปริญญา เข้ามาแปลด้วย คำแปลจึงจะสมบูรณ์))
จะเป็นลักษณะของ ตีรณปริญญา
วันพฤหัสบดีที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2562
ความหมายของ อภิชานาติ
แปลตรงๆ รู้ยิ่ง
รู้ยิ่งคือ รู้เฉพาะด้วยตนเอง
ไม่ใช่ว่ารู้จากไปฟังใครมา
คำว่า ยิ่ง นี่มาจาก อภิ
อภิ ในที่นี้ มีความหมายเท่ากับ สยํ
รู้ยิ่งคือ รู้เฉพาะด้วยตนเอง
ไม่ใช่ว่ารู้จากไปฟังใครมา
คำว่า ยิ่ง นี่มาจาก อภิ
อภิ ในที่นี้ มีความหมายเท่ากับ สยํ
ความหมายของ อัจจันตะ (อจฺจนฺต)
มาจาก อติ (ยิ่ง เกิน ล่วง) + อันตะ (ส่วน)
แปลตรงๆ = ล่วงส่วน
อธิบายว่า ส่วน หมายถึง โลก
คือมีส่วนนี้แล้วก็มีส่วนนั้น
กิเลสทำให้แบ่งเป็นส่วน
ดี-ชั่ว
ถูก-ผิด
เสื่อม-เจริฐ
ล่วงส่วน จึงหมายถึง นิพพาน
เลยขอบเขตของ
ดี-ชั่ว
ถูก-ผิด
เสื่อม-เจริฐ
แปลตรงๆ = ล่วงส่วน
อธิบายว่า ส่วน หมายถึง โลก
คือมีส่วนนี้แล้วก็มีส่วนนั้น
กิเลสทำให้แบ่งเป็นส่วน
ดี-ชั่ว
ถูก-ผิด
เสื่อม-เจริฐ
ล่วงส่วน จึงหมายถึง นิพพาน
เลยขอบเขตของ
ดี-ชั่ว
ถูก-ผิด
เสื่อม-เจริฐ
444
3 หมวดต้นของโพธิปักฯ เป็นพื้นฐานของการฝึกจิต
เรียกว่าเป็นสิ่งที่มีเป็นปกติในจิต
จึงเหมาะแก่การฝึกโพชฌงค์ต่อไป
ถ้าฝึกแล้วไม่มี 3 หมวดนี้ แปลว่าฝึกมายังใช้ไม่ได้
พระพุทธเจ้าเวลาตรวจจะตรวจอินทรีย์เลย
วิธีดูแรกๆ
ตอนฝึกไม่เป็นอินทรีย์ - นิวรณ์จะเป็นใหญ่ ใหญ่พอที่จะใก้เลิกปฏิบัติได้
แต่ถ้าฝึกถูกต้องจิตจะควรต่อการงาน
ควรต่อการงานคือ นิวรณ์หลอกจิตไม่ได้
สิ่งที่มาเป็นใหญ่แทนคือ อินทรีย์
ง่วงก็ง่วงไป ฉันก็จะทำความเพียร
เชื่อพระพุทธเจ้า
444 เป็นธรรมชุดชำระจิต เป็นชุดฝึกสมาธิ
บางคนทำมาแล้วเยอะ
เมื่อ เอานิวรณ์ออกไปกำลังจิตก็ทำงานต่อได้ทันที
อันนี้คืออินทรีย์แก่กล้า
ฉะนั้นดูกิเลสไม่ได้ ที่เห็นเลวๆ เพราะนิวรณ์ครอบอยู่
เรียกว่าเป็นสิ่งที่มีเป็นปกติในจิต
จึงเหมาะแก่การฝึกโพชฌงค์ต่อไป
ถ้าฝึกแล้วไม่มี 3 หมวดนี้ แปลว่าฝึกมายังใช้ไม่ได้
พระพุทธเจ้าเวลาตรวจจะตรวจอินทรีย์เลย
วิธีดูแรกๆ
ตอนฝึกไม่เป็นอินทรีย์ - นิวรณ์จะเป็นใหญ่ ใหญ่พอที่จะใก้เลิกปฏิบัติได้
แต่ถ้าฝึกถูกต้องจิตจะควรต่อการงาน
ควรต่อการงานคือ นิวรณ์หลอกจิตไม่ได้
สิ่งที่มาเป็นใหญ่แทนคือ อินทรีย์
ง่วงก็ง่วงไป ฉันก็จะทำความเพียร
เชื่อพระพุทธเจ้า
444 เป็นธรรมชุดชำระจิต เป็นชุดฝึกสมาธิ
บางคนทำมาแล้วเยอะ
เมื่อ เอานิวรณ์ออกไปกำลังจิตก็ทำงานต่อได้ทันที
อันนี้คืออินทรีย์แก่กล้า
ฉะนั้นดูกิเลสไม่ได้ ที่เห็นเลวๆ เพราะนิวรณ์ครอบอยู่
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)