เห็นความดับของอารมณ์ และความดับของจิตที่เห็นความดับของอารมณ์นั้น (เห็นสองอย่าง) สิ่งที่ปรากฏคือ ความว่าง (สุญญโต)
จะละเอียดกว่าอุทยพยญาณ
สิ่งที่ปรากฏคือความว่าง = ว่างจากความเที่ยง ว่างจากความงาม ว่างจากความสุข ว่างจากความเป็นตัวตน
เห็นความดับของอารมณ์ และความดับของจิตที่เห็นความดับของอารมณ์นั้น (เห็นสองอย่าง) สิ่งที่ปรากฏคือ ความว่าง (สุญญโต)
จะละเอียดกว่าอุทยพยญาณ
สิ่งที่ปรากฏคือความว่าง = ว่างจากความเที่ยง ว่างจากความงาม ว่างจากความสุข ว่างจากความเป็นตัวตน
การใช้คำในปฏิสัมภิทามรรค
ถ้าอนุปัสสนา จะหมายถึง ไตรลักษณ์ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนา, ทุกขานุปัสสนา, อนัตตานุปัสสนา
ถ้าใช้คำว่าวิปัสสนา จะหมายถึง นิพพิทา..., วิราคา..., นิโรธา..., ปฏินิสสัคคานุปัสสนา (เริ่มที่ภังคญาณ จึงเรียกว่าวิปัสสนาจริง)