โปรแกรมที่จิตสร้างขึ้นมาเพื่อรักษารูป
วันพุธที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2560
วันจันทร์ที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2560
subtle addiction
Something that you do repeatedly, which has negative consequences, which leads to overconsumption and feeling of low consciousness, dirtiness, guilt and regret.
It’s painful to stop doing it because it creates withdrawal symptoms gets you stuck in this loop and this loop is an escape from legitimate suffering and growth.
It reduces your freedom and your ability to become aware and awareness is the key to all growth.
It’s something that you hide and you’re not proud of.
List
1. Being loved
2. Judgment and criticism
3. Being right and proving others wrong
4. Arguing and debating
5. Anger, hatred and racism
6. Being moral or good
7. Preaching to others
8. Ideologies of all sorts
9. Getting attention and being liked
10. Arrogance and cockiness (Pride)
11. Success, work and career advancement
12. Money
13. Material possessions and luxury
14. Collecting and hoarding
15. Security
16. Worry, anxiety and fear
17. Negative self talk
18. Reliving the past
19. Technology
20. Being efficient and productive
21. Min Maxing
22. Competition and wining
23. Being special or being the best
24. Achievements and fame
25. Multitasking and distraction
26. Helping people and changing people
27. Family
28. Companionship and being with people
29. Suffering, drama and self sabotage
30. Control, power and getting things your way
31. Being negative, whining and complaining
32. Victim mentality
33. Thinking, theorizing, overconceptualizing
34. Analysis
35. Show pouting
36. Physical addiction
37. Laziness and procrastination
38. Sloth
39. Perfectionism
40. Need for support
41. Physical appearance
42. Negative motivation
43. Guilt
44. Jealousy and envy
45. Seeking excitement and fun
46. Gossiping
47. Cleanliness and order
48. Cheating and taking shortcuts
49. Lying, manipulating, exploiting
50. Mystical states
51. Hoarding knowledge
Addiction is a groove that’s been carved in your mind, not the activity.
Test - Stop doing for 7 days and see if cravings come up.
Manage:
the trick is you forget about them very easily. so first you have to apply a lot of awareness to see all the ways in which this addiction manifests and all the costs and benefits you get from it.
- Select 1 addiction that you want to focus on. Example: manipulation
- Write down and list all the ways in which you do manipulation. Take some time go back into your past and looks for examples of how you do this. The more you find the better because that then gets you the awareness you need to be able to see it in the future.
- Ask yourself. - How is this core to my identity? - It’s serving a function. It’s really and escape from something what am I escaping from? - Why do I need this? Go as deep as you can you might discover some weakness, some belief about yourself like deep down you’re not capable of surviving if you don’t manipulate, or you’re not capable of getting the love you want unless you manipulate.
- Ask. - What would an alternative look like without manipulation? Important because : If you can’t envision something how are you going to work towards it. You can’t just drop a negative addiction that’ll create a vacuum which your old addiction will come back. The alternative has to be compelling that registers in your mind as a much better alternative.
- Ask. - Could i let it go? Be honest to yourself if you’re not willing to let it go yet. Take a look what keep you clinging to that thing
- Set a strong and clear intention that you going to make this change. Even when you don’t know how yet you’re gonna make it happen. - I’m setting an intention to become a person who is not ...and I don’t know how i’m gonna get there, how long this gonna take me, i’m sure i’m gonna have my obstacles, my moment that I still get ... sometimes but i’m just going to keep my intention
วันอาทิตย์ที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2560
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์ - ทรงมีความคงที่ต่อวิสัยโลก
ภิกษุท. เพราะเหตุนี้แล สิ่งที่ตถาคตต้องเห็นแล้ว
ก็ไม่ทำความมั่นหมายว่าเห็นแล้ว
ไม่ทำความมั่นหมายว่าไม่ได้เห็น
ไม่ทำความมั่นหมายว่าเป็นสิ่งทีต้องเห็น
ไม่ทำความมั่นหมายว่าตนเป็นผู้หนึ่งที่ได้เห็น
ก็ไม่ทำความมั่นหมายว่าเห็นแล้ว
ไม่ทำความมั่นหมายว่าไม่ได้เห็น
ไม่ทำความมั่นหมายว่าเป็นสิ่งทีต้องเห็น
ไม่ทำความมั่นหมายว่าตนเป็นผู้หนึ่งที่ได้เห็น
วันอังคารที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2560
ศีลทำให้คนน่ารัก
- ไม่โกหก เพราะเขาไม่ใช่ต้นเหตุแห่งสุขทุกข์
- พูดจาอ่อนหวาน น่ารัก มีประโยชน์
- พูดให้เกิดความสมัครสมานสามัคคี
- ไม่เหยียดหยามใคร
- ไม่ดูหมิ่นใคร
- ไม่เหยียบย่ำใคร
- ไม่เอามานะไปข่มเหงใคร
- ไม่ไปแหวะแผล
- ไม่ไปส่อเสียด
- ไม่ประชดประชัน
- เอาใจเขามาใส่ใจเรา
วันจันทร์ที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2560
20 มิ.ย.60
รูปกระทบรูป นามเกิด
อนุกรมของรูปกระทบรูป เกิดเป็นความต่อเนื่องของแพทเทิร์นการรับรู้ ให้ภาพเป็นการสืบต่อ
ก่อนการรับรู้ไม่ได้มีตัวตนอะไรอยู่ที่ไหน
ไม่ได้มีความจำเก็บอยู่ในต่อมอะไรๆ
การรับรู้เกิดเมื่อการกระทบเกิด
การรับรู้ยุติเมื่อการกระทบยุติ
วันอาทิตย์ที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2560
วันอาทิตย์ที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2560
ทริกกี้
ไม่ได้อยากทำตัวเป็นประโยชน์
แต่ถ้ามีให้ทำก็ทำ
ทำแล้วก็ยินดีในผลของการทำนั้น
ไม่ทำแต่ไม่ปฏิเสธ
เป็นท่าทีที่พร้อมจะถูกหลอก
แต่ถ้ามีให้ทำก็ทำ
ทำแล้วก็ยินดีในผลของการทำนั้น
ไม่ทำแต่ไม่ปฏิเสธ
เป็นท่าทีที่พร้อมจะถูกหลอก
ภาษาสภาวะ
สังขาร เป็นปุงลิงก์ (คำเพศชาย)
เวทนา, สัญญา เป็นอิตถีลิงก์ (คำเพศหญิง)
รูป, วิญญาณ เป็นนปุงสกลิงค์ ( คำไม่ใช่เพศชายเพศหญิง)
จิต, , ทุกฺข, สีล, ฌาน, กมฺม, โคตฺรภู, ปุญฺญ, บาป เป็นนปุงสกลิงค์ ( คำไม่ใช่เพศชายเพศหญิง)
---
เย เกจิ สังขารา = สังขารทั้งหลายทั้งหมดทั้งสิ้น
ยา กาจิ เวทนา = เวทนาทั้งหมดทั้งสิ้น
ยํ กิญฺจิ วิญญาณํ = วิญญาณทั้งหมดทั้งสิ้น
---
ยสมา = เพราะ...ทั้งหมดทั้งสิ้น
ตสมา = เพราะเหตุนั้น
วันพุธที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2560
วันอาทิตย์ที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2560
เพราะไม่รู้ในความไม่มีจึงปรุงแต่ง
ทุกการปฏิบัติธรรมก็เพื่อไปดับสังขต (ความปรุงแต่ง)
ปรุงแต่งแปลว่าไม่จริง แต่มันทำงานอย่างนั้นได้อย่างไร
ทำไมปรุงเรื่องไม่จริงขึ้นมา
อวิชชามันต้องทำให้เชื่อให้ได้ก่อนว่า รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์มีตัวตน
มันไม่รู้ข้อนี้ว่า รูปมันไม่ใช่รูป
การประชุมของความปรุง ไมไ่ด้ปรุงข้อเดียว
ใช่เสียงหรือ
ใช่คำพูดหรือ
มันเป็นของว่างเปล่า
ปรุงแต่งว่ามีตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ มีจริงๆ
เวทนามีจริงๆ
ความจำมีจริงๆ
ความรับรู้มีจริงๆ
จึงขายขันธ์ 5 ได้ว่ามีจริงๆ
การปฏิบัติมันคือการดับเหตุแห่งทุกข์อยู่ในตัว
อานาปานสติ กำลังดับเหตุ และเดินมรรคอยู่ในตัว
พอไม่รู้ ว่าอายตนะ 6 ไม่ได้มีอยู่จริงๆ
เลยไปเชื่อว่าขันธ์ 5 ที่รับรู้ผ่านอายตนะ 6 นั้นมีจริงๆ ไปด้วย
เลยไม่รู้อีกว่า ความไปยึดในความไม่มีจริงๆ ของขันธ์ 5 นั้น เป็นทุกข์
ไม่รู้ในอริยสัจว่ามันล้วนเกิดจากเหตุปัจจัยแล้วมันก็แปรปรวน เวทนาก็ดี สัญญาก็ดี สังขารก็ดี
มันกำลังยึดกับตัวทุกข์ เพราะมันอยากให้เที่ยง อย่างให้ถาวร
กำลังหาความสุข
แต่ไม่รู้ว่าความสุขแท้จริงคืออะไร
ความสุขแท้จริงคือการไม่ปรุงแต่ง
กายไม่ได้ไปเอง
มันถูกความปรุงแต่งภายในผลักดัน
ที่ปรุงแต่งอยากได้บุญก็เพราะปรุงว่ามีตัวตนในร่างกาย
มีเราได้เวทนา
มีเรามีความจำ
มีเรามีความคิด
มีเราที่อยู่ในวิญญาน
มีเราเห็น
มีเราได้รับรส
มีเราได้กลิ่น
สังขาร = กิริยาที่ปรุงแต่งรูปให้สำเร็จว่าเป็นรูป
รูปก็เป็นสังขตธรรม อาศัยความเกิดแล้วก็อาศัยความเสื่อม
เพียงแต่ไปตั้งชื่อเรียกว่า อันนี้รูป อันนี้ัเวทนา
ขันธ์ 5 ว่างเปล่า เพราะไม่ได้มีตัวตนอยู่ข้างใน แล้วก็น้อมจิตไปสู่ความไม่ปรุงแต่ง
ปรุงแต่งแปลว่าไม่จริง แต่มันทำงานอย่างนั้นได้อย่างไร
ทำไมปรุงเรื่องไม่จริงขึ้นมา
อวิชชามันต้องทำให้เชื่อให้ได้ก่อนว่า รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์มีตัวตน
มันไม่รู้ข้อนี้ว่า รูปมันไม่ใช่รูป
การประชุมของความปรุง ไมไ่ด้ปรุงข้อเดียว
ใช่เสียงหรือ
ใช่คำพูดหรือ
มันเป็นของว่างเปล่า
ปรุงแต่งว่ามีตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ มีจริงๆ
เวทนามีจริงๆ
ความจำมีจริงๆ
ความรับรู้มีจริงๆ
จึงขายขันธ์ 5 ได้ว่ามีจริงๆ
การปฏิบัติมันคือการดับเหตุแห่งทุกข์อยู่ในตัว
อานาปานสติ กำลังดับเหตุ และเดินมรรคอยู่ในตัว
พอไม่รู้ ว่าอายตนะ 6 ไม่ได้มีอยู่จริงๆ
เลยไปเชื่อว่าขันธ์ 5 ที่รับรู้ผ่านอายตนะ 6 นั้นมีจริงๆ ไปด้วย
เลยไม่รู้อีกว่า ความไปยึดในความไม่มีจริงๆ ของขันธ์ 5 นั้น เป็นทุกข์
ไม่รู้ในอริยสัจว่ามันล้วนเกิดจากเหตุปัจจัยแล้วมันก็แปรปรวน เวทนาก็ดี สัญญาก็ดี สังขารก็ดี
มันกำลังยึดกับตัวทุกข์ เพราะมันอยากให้เที่ยง อย่างให้ถาวร
กำลังหาความสุข
แต่ไม่รู้ว่าความสุขแท้จริงคืออะไร
ความสุขแท้จริงคือการไม่ปรุงแต่ง
กายไม่ได้ไปเอง
มันถูกความปรุงแต่งภายในผลักดัน
ที่ปรุงแต่งอยากได้บุญก็เพราะปรุงว่ามีตัวตนในร่างกาย
มีเราได้เวทนา
มีเรามีความจำ
มีเรามีความคิด
มีเราที่อยู่ในวิญญาน
มีเราเห็น
มีเราได้รับรส
มีเราได้กลิ่น
สังขาร = กิริยาที่ปรุงแต่งรูปให้สำเร็จว่าเป็นรูป
รูปก็เป็นสังขตธรรม อาศัยความเกิดแล้วก็อาศัยความเสื่อม
เพียงแต่ไปตั้งชื่อเรียกว่า อันนี้รูป อันนี้ัเวทนา
ขันธ์ 5 ว่างเปล่า เพราะไม่ได้มีตัวตนอยู่ข้างใน แล้วก็น้อมจิตไปสู่ความไม่ปรุงแต่ง
21 พ.ค.60 เมตตาสมาธิ
การดึงเมตตามาทำสมาธิต้องอาศัยต้นทุนคือประสบการณ์ ดึงสภาวะความสุขจากการให้มาเป็นอารมณ์ ดังนั้นถ้าให้ได้บ่อย และมีความสุขในที่จะให้ มีความเคยชินที่จะให้ จะระลึกอารมณ์แบบนี้ได้ง่าย ความสงบเกิดได้ไว ขณะที่ถ้าเงื่อนไขมาก ให้ยาก ต้องแบบโน้น ต้องท่านี้ จะนึกอารมณ์แบบนี้ก็ยากตาม เป็นเหตุเป็นผลที่สมควรแก่กัน
---
---
Ek Pinkcow คำถามคือเราเห็นหรือสัมผัสความสุขในการให้นั้นแล้วหรือยัง?
อาการที่เรียกว่าสุขนั้นคือแบบใด? ทุกคนเหมือนกันหรือไม่?
เราจะสามารถจดจำอารมณ์นั้นจนนำมาเป็นสมาธิไหวรึเปล่า?
.
ถ้ายังไม่เห็นหรือรู้สึก
จะดึงมาเป็นอารมณ์ทำสมาธิได้หรือไม่? หรือมีทางอื่นไหม?
นั่นคือคำถามต่อเนื่อง
Nathakorn Buff คำตอบง่ายๆครับ..
ถ้าถาม..นั่นคือยังไม่เห็น.. อารมณ์เกิดด้วยอิทัปปจยตา
กล่าวคือเกิดตามสภาวะธรรมชาติ
กระทบสฬายตนะเกิดเป็นอารมณ์ขึ้นมาก่อนที่จะทันเกิดความคิดเสียอีก..
ถ้ามีคำถามที่จะเกิดได้จากการรับรู้สัมผัสเหล่านั้น.. ควรเป็นคำถามว่าสภาวะอารมณ์นี้คืออะไร?
มากกว่าที่จะเป็นคำถามที่ย้อนจากปลายมาต้นแบบ
"นี่คือความสุขหรือไม่?" เพราะนั้นหมายความว่าเราปรุงแต่งถึงคำว่าสุข
ตามจินตนาการ ไม่ใช่จากการเห็นอารมณ์สุขจากการวิปัสนา
Ning Cholatit หนูว่าคำถามพี่เอกนำไปสู่การแยกระหว่าง
สิ่งที่มีประโยชน์ กะสิ่งที่สมควรแก่ตนนะคะ
แน่นอนว่าต้องเห็นความสัมพันธ์ระหว่างการให้และความสุขที่เกิดก่อน ถ้ายังไม่เห็น
ก็ไม่มีอะไรเป็นสัญญาในการจะดึงขึ้นใช้ หรือเห็นแต่ไม่แม่น ไม่บ่อย นึกยาก วับๆ
แวมๆ ไม่แน่ใจ ก็เอาสิ่งนี้มาเป็นอารมณ์ไม่ได้
แต่ทั้งนี้เหตุใกล้สมาธิก็คือความสุข ต่อให้การให้สำหรับคนๆ
นั้นไม่สามารถทำให้ระลึกอารมณ์นี้ได้ชัด
ก็ไปหาผัสสะอื่นที่ทำให้มีความสุขแบบไม่กระตุ้นกิเลส เป็นทางเข้าแทนก็ได้
Nathakorn Buff แรกๆจะเข้าด้วยแบบนั้นไปก่อนก็อาจจะได้ครับ
แต่ที่รู้สึกว่าสำคัญจนต้องพูดถึงคือ.. เรามีคัมภีร์ คำสอนขั้นสูง
หาอ่านได้ง่ายทั่วไป
โดยไม่มีใครใส่ใจที่จะอธิบายถึงหลักเหตุหรือสภาวะพื้นฐานที่ต้อง "เห็น"
จากกำลังของวิปัสนาเสียก่อน ถึงจะสามารถเข้าใจหลักหรือคำอธิบายของระดับถัดๆไปได้..
(เหมือนคนที่นอนฝัน ถ้าไม่ตื่น ความสามารถที่จะเข้าใจความเป็นจริงก็น้อย)
แล้วระหว่างทางไปก็จะผ่านขั้นตอนที่เห็นเอาเองอีกทีว่า...
ดีและเลว ทุกข์หรือสุข มันคือแต่ละหน้าของเหรียญเดียวกัน เราเอากิเลสไปจับยึดแต่ละด้านของเหรียญเพื่อพยายามให้มันออกแต่หน้าที่เราชอบหรือหนีจากหน้าที่เราเกลียด...
เพื่อที่จะพบว่ามันทำให้เกิดแรงตรงข้ามขึ้นอีกด้านของสิ่งที่เรายึดนั่นแหละ
รอคิวที่จะถึงในวิบากถัดๆไป... โดยคนที่จะทราบหรือมองเห็น loop ต้องเห็นมันเอง โดยไม่เผลอยินดียินร้ายกับมันเสียก่อน
Nathakorn Buff Ek Pinkcow Ning Cholatit ขอโทษที เมื่อวานพิมพ์ไปทำงานไป มาดูอีกทีเพิ่งเห็นว่าประโยคมันตัดสลับกัน
สงสัยมือไปโดน
Nathakorn Buff จุดที่จะพูดถึงหลักๆคือ..
ระวังในความสุข ความพอใจนั่นแหละ.. ต่อให้เกิดจากทานหรือการให้
แต่มันยังสามารถมีโลภะหรืออัตตาแฝงอยู่ (และส่วนใหญ่มีอยู่ไม่น้อยสำหรับสังคมแบบที่เราเป็น)
ตัวนั้นเป็นตัวที่อันตรายกว่าตัวเลวเสียอีก ถ้ามองถึงปลายทางแบบพุทธของตัวเอง...
ทั้งๆที่มันดีหมดจดงถ้ามองจากสายตาคนอื่นๆนี่แหละ
Ning Cholatit เออ ใช่ ก็ว่าลืมอะไรไป ขอบคุณค่ะพี่
(แม้ตัวเองจะโอกาสติดยากก็ตาม)
ครูบาอาจารย์ว่าระวังติดเป็นเจ้าแม่กวนอิมยิ้มพริ้มทั้งวันก็ไปต่อไม่ได้ ^_^
Nathakorn Buff ตัวเองถ้ารู้จักมันแล้วอาจไม่ต้องระวังมาก..
แต่ระวังกลุ่มมิตรสหายที่นิยมตั้งทีม ติดทีมไว้ให้ดีเถิด..
ปฏิบัติไปไม่ต้องรอทีม.. ไม่ต้องรอคนมา validate ไปเรื่อยๆไม่รีบ
ไม่แข่ง รู้เพราะถึงเวลา ไม่ได้รู้เพราะอยากก็พอแล้ว ถึงช้าก็ดีกว่าเร็วแล้ววนนะ
:)
22 พ.ค.60 ไม่เที่ยง
เล่นเฟสเช้า เห็นกระทู้ที่รู้สึกว่าเดี๋ยวต้องมาตอบ แต่ตอนนี้ไม่ว่างไว้ตอนเย็นละกัน พอตอนเย็นมาดู ความรู้สึกว่าต้องตอบก็หายไปแล้ว
ไม่เที่ยง
22 พ.ค.60 ความจำเป็น
อะไรที่คิดว่าจำเป็น อาจไม่จำเป็น แต่รู้สึกว่าจำเป็นเพราะใจไปเดือดร้อนเฉยๆ ก็ได้
แต่อาจจะโดนความขี้เกียจหลอกเอาก็ได้นะ
ความสงสัยคาบไปแดกแล้วล่ะ
30 พ.ค.60
ฉันทะอาจมาได้จาก
ความเลื่อมใสรักใคร่ในผู้สอน
หรือความเห็นผลจริงจากการปฏิบัตินั้นๆ
ความเลื่อมใสรักใคร่ในผู้สอน
หรือความเห็นผลจริงจากการปฏิบัตินั้นๆ
ไม่มีฉันทะไม่ต้องถามหาวิริยะ
นี่คือคำตอบของความขี้เกียจ?
นี่คือคำตอบของความขี้เกียจ?
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)