ย่อมเจริญฉันทะ (วิริยะ/จิตตะ/วิมังสา) สมาธิ และปธานสังขาร ดังนี้ว่า
ฉันทะ (วิริยะ/จิตตะ/วิมังสา) ของเราจักไม่ย่อหย่อนเกินไป
ไม่ประคองเกินไป
ไม่หดหู่ในภายใน
ไม่ฟุ้งไปในภายนอก
มีความสำคัญในเบื้องหน้าและเบื้องหลังอยู่ว่า
เบื้องหน้าฉันใด เบื้องหลังก็ฉันนั้น
เบื้องหลังฉันใด เบื้องหน้าก็ฉันนั้น
เบื้องล่างฉันใด เบื้องบนก็ฉันนั้น
เบื้องบนฉันใด เบื้องล่างก็ฉันนั้น
กลางวันฉันใด กลางคืนก็ฉันนั้น
กลางคืนฉันใด กลางวันก็ฉันนั้น
(ผล - จิตที่ไม่มีนิวรณ์)
เธอมีจิตเปิดเผย
ไม่มีอะไรหุ้มห่อ
อบรมจิตให้สว่างอยู่
ถ้าทำแบบตามบุญตามกรรม ไม่รู้หลักการ ไม่รู้เทคนิค
มันก็อาจจะได้ผลถ้าขยันทำ แต่มันใช้เวลานาน
มาเรียนไว้ก่อน
แต่เรียนไปแล้ว พอไปทำมันก็ผิดๆ ถูกๆ เหมือนเดิมแหละ
ไม่ใช่ว่า (คิดว่า) เข้าใจแล้วเวลาทำจะไม่ผิด
ไปทำจริงมันก็หลงๆ ลืมๆ ตามเรื่องน่ะแหละ ก็กลับมาทวนบ่อยๆ ด้วย กลับมาฟังธรรม
มันชอบลืมเรื่อย 5555
เหมือนฟังเรื่องมีสติ เรื่องรู้ตัว
ในชีวิตประจำวันมันก็ยังลืมเรื่อย
เลยต้องฟังซ้ำ วนไป 5555
ตอนนี้มาฟังเรื่องสมาธิ ก็เป็นขั้นกลางๆ
ถ้าทำไม่ถึงสมาธิชีวิตไม่เปลี่ยน นิสัยไม่เปลี่ยน
มันต้องใช้เวลาช่วงนึง ต่อเนื่องพอสมควร
บางคนก็ไม่กล้า
ห่วงทำนู่นทำนี่
พอจะทำอะไรได้นิดหน่อยก็เลิก ล้มกระดาน ทำใหม่
ฉะนั้นถ้าจะทำอะไรก็ทำให้ถึงสมาธิ
มันจึงจะเป็นตัวเปลี่ยนนิสัยเปลี่ยน ชีวิตเปลี่ยน
ตัวเปลี่ยนนี่ก็จะเป็นคุณธรรมฝ่ายดีที่เข้ามาแทนที่
เรียก "อินทรีย์"
จะให้กลับไปเชื่อมงคลตื่นข่าว ไปหวั่นไหวกับเรื่องนู้นเรื่องนี้ มันทำไม่เป็น
เพราะมีสัทธินทรีย์เข้ามาแทนในจิตแล้ว
ถ้าทำไม่ถึงสมาธิ
แม้จะไหว้พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์อยู่ทุกวัน
แต่พอคนอื่นมาว่าอะไรมันก็ไหวไปตามเขา คือ มัน "ทำไม่ถึง"
บอกแก่แล้ว รีบๆ ทำ ไปๆ มาๆ ก็ไม่ทำ
แต่ถ้าถึงสมาธิแล้ว วิริยินทรีย์เกิด ความขี้เกียจก็ไม่มีความหมายไป
---
ขยายความต่อ
ฉันทะของเราจะต้องไม่ย่อหย่อนเกินไป
ต้องไม่ใส่ความขี้เกียจเข้ามานะ (ฉันทะที่ประกอบด้วยความขี้เกียจ)
ถ้าความขี้เกียจเข้ามา ก็หาทางให้มันออกไปหน่อย
ไม่ต้องประคองจนเกินไป
ฉันทะบางทีก็ทำให้ฟุ้งได้ (ฉันทะที่ประกอบด้วยอุทธัจจะ)
เดี๋ยวไปเรื่องนู้น เดี๋ยวไปเรื่องนี้ ไม่เป็นเรื่องสักที
ฉะนั้นจะทำอะไร แม้ไม่ถึงกับต้องห้ามจิตห้ามใจ แต่ก็เลือกเรื่องให้ดีๆ
ไม่หดหู่ในภายใน
(ฉันทะที่ประกอบด้วยถีนมิทธะ)
พวกโงกง่วง เศร้าซึม ไม่เอาอะไรแล้ว ไม่อยากบรรลุด้วย เอาออกให้หมด
ไม่ใช่ทำไปด้วยหดหู่ไปด้วย เรามันบารมีน้อย
คิดงี้ก็ใช้ไม่ได้
จริงอยู่ สิ่งผิดนี่ก็ไม่มีตัวตนต้องไม่เที่ยง แต่ต้องเอาออก
สิ่งถูก ก็ไม่มีตัวตน ไม่เที่ยง แต่ต้องเอาเข้า
ไม่ฟุ้งซ่านไปภายนอก
(ฉันทะที่ฟุ้งไปในกามคุณ)
ภายนอกคืออารมณ์กามคุณ ลักษณะของสมาธิต้องสงัดจากกามคุณ
การดู การฟัง การดมกลิ่ม ลิ้มรส สัมผัส อย่าให้จิตมันออกไปทำนองนั้น
ก็ต้องรู้จักดูแลอย่าให้มันฟุ้งไปทำนองนั้น
มีความสำคัญในเบื้องหน้าและเบื้องหลังอยู่ว่า
เบื้องหน้าฉันใด เบื้องหลังก็ฉันนั้น
เบื้องหลังฉันใด เบื้องหน้าก็ฉันนั้น
คือรู้ว่าตัวเองกำลังทำอะไรเพื่ออะไร
ทำอะไรมาแล้ว และจะทำอะไรต่อ ตอนนี้กำลังทำอะไรอยู่
สติปัฏฐาน สัมมัปปธาน ทำมาแล้ว แล้วต่อไปจะเป็นยังไง
รู้เป้าหมาย รู้อะไรที่ตนทำอยู่ ทำด้วยความรู้
เบื้องล่างฉันใด เบื้องบนก็ฉันนั้น
เบื้องบนฉันใด เบื้องล่างก็ฉันนั้น
รู้จักตัวเอง มีสติอยู่กับตัว
แต่พื้นเท้าขึ้นมา แต่ปลายผมลงไป
กลางวันฉันใด กลางคืนก็ฉันนั้น
กลางคืนฉันใด กลางวันก็ฉันนั้น
กลางวันฉันใด กลางคืนก็ฉันนั้น
กลางคืนฉันใด กลางวันก็ฉันนั้น
กลางวันเป็นไง สว่างโล่ง ทำความเพียรยังไง กลางคืนก็ทำอย่างงั้น
เธอมีจิตเปิดเผย
ไม่มีอะไรหุ้มห่อ
อบรมจิตให้สว่างอยู่
สมาธิเป็นการอบรมจิตให้สว่าง หมดจากนิวรณ์
ซึ่งสติปัฏฐานก็นำกิเลสออกไปได้ประมาณนึง เพราะขจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสีย
แต่กิเลสก็ยังเข้าได้อยู่ ก็ต้องสัมมัปปธานป้องกันด้วย
วันอาทิตย์ที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2561
สมาธิต้องทำให้เกิดมี
สมาธิต้องทำให้มีขึ้น
ถ้าไม่มีมันไม่มีฐานของความสำเร็จ
ถ้าว่า "แค่มีสติก็พอแล้ว"
ก็ได้ แต่ว่ากิเลสมันไม่หมด
เพราะกำลังไม่พอจะตัดกิเลส
ต้องเกลากิเลสให้ลดลงก่อนด้วยความเพียร
อันไหนพอขูดได้ก็ป้องกัน
กุศลอันไหนพอทำได้เพื่อลดกำลังกิเลสก็ทำ
สมาธิเหมือนหินลับมีด
แต่ไม่ใช่สมาธิดีแล้วไม่เอาไปฟัน (เจริญวิปัสสนา)
ปล่อยไว้เฉยๆ เดี๋ยวมีดจะทื่อใหม่
ทำสมาธิให้มี
มีวิธีให้เลือกตั้ง 4 อัน เลือกดู
แต่พื้นต้องดี ต้องมีความรู้ตัวอยู่เสมอ
รู้จักงดเว้นของชั่ว กล้าที่จะละของไม่ดี ไม่ใช่หวงเอาไว้
รู้จักเติมของดี
เรานี่ก็ใช่ว่าไม่รู้นะว่าอะไรดีไม่ดี
แต่นิสัยไม่ดีถ้าไม่กล้าทิ้ง
จะขึ้นสู่สมาธิไม่ได้
จึงต้องกล้าหาญนะ
ถ้าไม่มีมันไม่มีฐานของความสำเร็จ
ถ้าว่า "แค่มีสติก็พอแล้ว"
ก็ได้ แต่ว่ากิเลสมันไม่หมด
เพราะกำลังไม่พอจะตัดกิเลส
ต้องเกลากิเลสให้ลดลงก่อนด้วยความเพียร
อันไหนพอขูดได้ก็ป้องกัน
กุศลอันไหนพอทำได้เพื่อลดกำลังกิเลสก็ทำ
สมาธิเหมือนหินลับมีด
แต่ไม่ใช่สมาธิดีแล้วไม่เอาไปฟัน (เจริญวิปัสสนา)
ปล่อยไว้เฉยๆ เดี๋ยวมีดจะทื่อใหม่
ทำสมาธิให้มี
มีวิธีให้เลือกตั้ง 4 อัน เลือกดู
แต่พื้นต้องดี ต้องมีความรู้ตัวอยู่เสมอ
รู้จักงดเว้นของชั่ว กล้าที่จะละของไม่ดี ไม่ใช่หวงเอาไว้
รู้จักเติมของดี
เรานี่ก็ใช่ว่าไม่รู้นะว่าอะไรดีไม่ดี
แต่นิสัยไม่ดีถ้าไม่กล้าทิ้ง
จะขึ้นสู่สมาธิไม่ได้
จึงต้องกล้าหาญนะ
สมาธิเป็นผล
สมาธินี่เหมือนรางวัล
ไม่ได้เป็นตัวเหตุ
แต่เป็นตัวผล
ต้องทำให้ถูกต้อง
คือทำอย่าง "มีสติ" และ "ต่อเนื่อง"
พอทำถูก "ถ้าถูกเหตุถูกปัจจัย"
ผลจึงเกิด
มันต้องเริ่มจากสติ
รู้ด้วยว่าถ้ากิเลสมาเยอะจะทำไงให้มันลดได้บ้าง
ป้องกันไงได้บ้าง
กุศลยังน้อยจะทำไงได้บ้าง
พอทำอย่างนี้ได้ก็มีโอกาสที่สมาธิจะเกิดได้
ถ้าอาศํยฉันทะแล้วได้จิตอารมณ์เป็นหนึ่ง ก็เรียกฉันทสมาธิ
ชำนาญก็คือเคยชิน
ถ้าไม่ชำนาญ มีสติทีไรก็ไม่เคยถึงสมาธิ
ถ้าชำนาญ มีสติขึ้นมาทีไรก็ถึงสมาธิ เพราะมันชำนาญ
พอถึงสมาธิแล้วก็เอามาใช้งานพิจารณา
ต่อมาพอชำนาญก็
มีสติปั๊บ เจริญปัญญาเลย
มีสติปั๊บ เจริญปัญญาเลย
มีสภาวะอะไรเข้ามาปั๊บ พอมีสติตั้งขึ้น สมาธิก็ตั้งขึ้น เดินปัญญาเลย
อันนี้คือความชำนาญ
แต่ถ้าไม่ชำนาญ
ก็ต้องทำสติให้ต่อเนื่อง ทำสมาธิให้เกิด แล้วก็พิจารณาขันธ์ทั้ง 5
ไม่ได้เป็นตัวเหตุ
แต่เป็นตัวผล
ต้องทำให้ถูกต้อง
คือทำอย่าง "มีสติ" และ "ต่อเนื่อง"
พอทำถูก "ถ้าถูกเหตุถูกปัจจัย"
ผลจึงเกิด
มันต้องเริ่มจากสติ
รู้ด้วยว่าถ้ากิเลสมาเยอะจะทำไงให้มันลดได้บ้าง
ป้องกันไงได้บ้าง
กุศลยังน้อยจะทำไงได้บ้าง
พอทำอย่างนี้ได้ก็มีโอกาสที่สมาธิจะเกิดได้
ถ้าอาศํยฉันทะแล้วได้จิตอารมณ์เป็นหนึ่ง ก็เรียกฉันทสมาธิ
ชำนาญก็คือเคยชิน
ถ้าไม่ชำนาญ มีสติทีไรก็ไม่เคยถึงสมาธิ
ถ้าชำนาญ มีสติขึ้นมาทีไรก็ถึงสมาธิ เพราะมันชำนาญ
พอถึงสมาธิแล้วก็เอามาใช้งานพิจารณา
ต่อมาพอชำนาญก็
มีสติปั๊บ เจริญปัญญาเลย
มีสติปั๊บ เจริญปัญญาเลย
มีสภาวะอะไรเข้ามาปั๊บ พอมีสติตั้งขึ้น สมาธิก็ตั้งขึ้น เดินปัญญาเลย
อันนี้คือความชำนาญ
แต่ถ้าไม่ชำนาญ
ก็ต้องทำสติให้ต่อเนื่อง ทำสมาธิให้เกิด แล้วก็พิจารณาขันธ์ทั้ง 5
วิมังสาสมาธิ
อาศัยการใส่ใจให้ถูกแล้วเกิดสมาธิ
การใส่ใจเพื่อให้เข้าใจเหตุผลอย่างถูกต้อง
หัดมองความเป็นเหตุ ปัจจัย เข้าใจเรื่องอย่างถูกต้อง
ใช้ชีวิตอย่างมีสติ ทำความเพียร
มีเรื่องอะไรเกิดขึ้นก็รู้จักมองในแง่ที่จะเห็ฯความจริง ทะลุความจริง
มองงี้แล้วสมาธิเกิด ปลอดโปร่ง สบาย สมาธิเกิด นิวรณ์หมด
เกิดแล้วรักษาด้วยปธานสังขาร
พิจารณาเป็นบางทีสมาธิมันก็เกิด
อย่าไปคิดไรมาก ปล่อยวาง เย็นใจวาบขึ้นมา
อาการสมาธิก็ขึ้นมานิดหน่อย
แต่ฐานไม่ดี เลยไม่ต้องเนื่อง เลยไม่เป็นอิทธิบาทขึ้นมา
ได้แต่อาการสมาธิเล็กๆ น้อยๆ
ปราโมทย์ ปีติ ปัสสัทธิ สุข สมาธิ
อาการฝ่ายสมาธิพวกนี้ เกิดได้เนืองๆ ในชีวิต
แต่ไม่รู้เทคนิคการเอามาใช้ต่อ หรือการรักษาไว้
การใส่ใจเพื่อให้เข้าใจเหตุผลอย่างถูกต้อง
หัดมองความเป็นเหตุ ปัจจัย เข้าใจเรื่องอย่างถูกต้อง
ใช้ชีวิตอย่างมีสติ ทำความเพียร
มีเรื่องอะไรเกิดขึ้นก็รู้จักมองในแง่ที่จะเห็ฯความจริง ทะลุความจริง
มองงี้แล้วสมาธิเกิด ปลอดโปร่ง สบาย สมาธิเกิด นิวรณ์หมด
เกิดแล้วรักษาด้วยปธานสังขาร
พิจารณาเป็นบางทีสมาธิมันก็เกิด
อย่าไปคิดไรมาก ปล่อยวาง เย็นใจวาบขึ้นมา
อาการสมาธิก็ขึ้นมานิดหน่อย
แต่ฐานไม่ดี เลยไม่ต้องเนื่อง เลยไม่เป็นอิทธิบาทขึ้นมา
ได้แต่อาการสมาธิเล็กๆ น้อยๆ
ปราโมทย์ ปีติ ปัสสัทธิ สุข สมาธิ
อาการฝ่ายสมาธิพวกนี้ เกิดได้เนืองๆ ในชีวิต
แต่ไม่รู้เทคนิคการเอามาใช้ต่อ หรือการรักษาไว้
จิตตสมาธิ
อาศัยจิตแล้วเกิดสมาธิ
อาศัยความจดจ่อเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
เหมือนกับเก่งในเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ
ทำอะไรก็จดจ่อเรื่องนั้นไม่ไปเรื่องอื่น เพ่งลงไปเป็นพิเศษ
ใช้ชีวิตด้วยสติสัมปชัญญะ มีความเพียร
เวลาทำอะไรก็จดจ่อลงไปในเรื่องนั้น ไม่เอาเรื่องอื่นมาเกี่ยวข้อง
ถ้าจดจ่อแล้วเกิดสมาธิ สมาธินั้นเรียก จิตตสมาธิ
(ถ้าจดจ่อแล้วไม่เกิดก็ไม่เรียกนะ)
อาศัยความจดจ่อเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
เหมือนกับเก่งในเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ
ทำอะไรก็จดจ่อเรื่องนั้นไม่ไปเรื่องอื่น เพ่งลงไปเป็นพิเศษ
ใช้ชีวิตด้วยสติสัมปชัญญะ มีความเพียร
เวลาทำอะไรก็จดจ่อลงไปในเรื่องนั้น ไม่เอาเรื่องอื่นมาเกี่ยวข้อง
ถ้าจดจ่อแล้วเกิดสมาธิ สมาธินั้นเรียก จิตตสมาธิ
(ถ้าจดจ่อแล้วไม่เกิดก็ไม่เรียกนะ)
วิริยสมาธิ
อาศัยความกล้าหาญ บากบั่น เข้มแข็ง
ไม่เหมือนคนชอบ คนชอบนี่จะทำทุกวันอยู่แล้ว
คนชอบเขาจะทำเสมอๆ เป็นแบบฉันทะ
ส่วนวิริยะนี่คล้ายกับว่า
ใช้ชีวิตอย่างมีสติแล้ว ทำความเพียรตามสมควรแล้ว
พอจะทำสมาธิก็หาเวลาไปทำเลย
อุปมาเหมือนคนไปสมัครงานกับพระราชา
คนนึงทำงานที่ชอบ ทำทุกวันๆ พระราชาก็ให้รางวัล
อีกคนไม่ได้ทำทุกวัน
มีเรื่องถึงจะไป เช่น มีศึกสงครามค่อยสมัครไปเป็นทหาร
สู้ๆๆ ด้วยเข้มแข็งอดทน พระราชาก็ให้รางวัลมา
คือเวลาตั้งใจก็ตั้งใจเอาเป็นเอาตาย
สมาธิที่เกิดด้วยเหตุแบบนี้เรียก วิริยสมาธิ
แล้วก็รักษาสมาธิที่ได้มาด้วยวิธีนี้ไว้ด้วยปธานสังขาร
เช่นนี้เรียกว่า เจริญอิทธิบาทอันประกอบด้วยวิริยสมาธิ ปธานสังขาร
พวกไม่ค่อยมีเวลา
ถ้าหาเวลาได้
ลองวิธีนี้บ้างก็ได้ บู๊เลย เอาเลย
ไม่เหมือนคนชอบ คนชอบนี่จะทำทุกวันอยู่แล้ว
คนชอบเขาจะทำเสมอๆ เป็นแบบฉันทะ
ส่วนวิริยะนี่คล้ายกับว่า
ใช้ชีวิตอย่างมีสติแล้ว ทำความเพียรตามสมควรแล้ว
พอจะทำสมาธิก็หาเวลาไปทำเลย
อุปมาเหมือนคนไปสมัครงานกับพระราชา
คนนึงทำงานที่ชอบ ทำทุกวันๆ พระราชาก็ให้รางวัล
อีกคนไม่ได้ทำทุกวัน
มีเรื่องถึงจะไป เช่น มีศึกสงครามค่อยสมัครไปเป็นทหาร
สู้ๆๆ ด้วยเข้มแข็งอดทน พระราชาก็ให้รางวัลมา
คือเวลาตั้งใจก็ตั้งใจเอาเป็นเอาตาย
สมาธิที่เกิดด้วยเหตุแบบนี้เรียก วิริยสมาธิ
แล้วก็รักษาสมาธิที่ได้มาด้วยวิธีนี้ไว้ด้วยปธานสังขาร
เช่นนี้เรียกว่า เจริญอิทธิบาทอันประกอบด้วยวิริยสมาธิ ปธานสังขาร
พวกไม่ค่อยมีเวลา
ถ้าหาเวลาได้
ลองวิธีนี้บ้างก็ได้ บู๊เลย เอาเลย
ฉันทสมาธิ
ถ้าภิกษุอาศัยฉันทะแล้วได้สมาธิ ได้เอกัคคตาจิต
นี้เรียกว่า ฉันทะสมาธิ
เธอยังฉันทะให้เกิด
พยายาม ปรารภความเพียร
ประคองจิต ตั้งจิตไว้
เพื่อไม่ให้บาปอกุศลธรรมที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น
เพื่อละบาปอกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว
เพื่อให้กุศลธรรมที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น
เพื่อความตั้งอยู่ เพื่อความไม่เลือนหาย เพื่อเจริญยิ่งๆ ขึ้นไป เพื่อความไพบูลย์ ความเต็มรอบแห่งกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว
เหล่านี้เรียกว่า ปธานสังขาร
ฉันทะนี้ด้วย
ฉันทสมาธินี้ด้วย
และปธานสังขารนี้ด้วย
เรียกว่า อิทธิบาทประกอบด้วยฉันทะสมาธิ และปธานสังขาร
เรียกว่าอาศัยความชอบแล้วทำนั่นเอง
พวกชอบก็จะทำบ่อยๆ
ทั้งนี้การทำสิ่งที่ชอบนั้นต้องผ่านการฝึกสองขั้นแรกมาก่อน คือสติปัฏฐาน และสัมมัปปธาน
คือ เราเป็นผู้ใช้ชีวิตอย่างมีสติ ทำความเพียรเสมอ เพียรละอกุศลเสมอ
ทีนี้เมื่อได้ไปทำสิ่งที่ชอบ แล้วทำแล้วจิตตั้งมั่น
สมาธิอันนี้เรียกว่า ฉันทสมาธิ
ทีนี้พอได้ฉันทสมาธิแล้ว
ก็ต้องรักษาสมาธิอันนั้นไว้ด้วยความเพียร
ตัวความเพียรนั้นเรียกว่า ปธานสังขาร
หลายครั้งเราก็ได้สมาธิกับเขาเหมือนกัน เมื่อได้ทำสิ่งที่ชอบ
แต่รักษาไม่ได้ ก็จะไม่เป็นอิทธิบาท
เช่น บางคนชอบฟังธรรม
ฟังไปเจอจุดที่ตัวเข้าใจก็รู้สึกว่า เออ ใจเบิกบาน ตั้งมั่น
แต่รักษาไม่ได้ เพราะไม่มีปธานสังขาร
แป๊บเดียวอารมณ์กระทบ ไปแล้ว...
ไปสวดมนต์ เบิกบาน เป็นหนึ่ง
แต่ไม่รู้วิธีรักษา ไม่รู้ว่ามันมาจากอะไร
ไม่รู้ว่าถ้าจะให้สมาธิมันเกิดบ่อยๆ ต้องเป็นผู้ใช้ชีวิตอย่างมีสติ มีความเพียร
ป้องกันกิเลส รักษากุศลเสมอๆ
ทีนี้สมาธิมันมาจาก 4 ลักษณะ
นี้เรียกว่า ฉันทะสมาธิ
เธอยังฉันทะให้เกิด
พยายาม ปรารภความเพียร
ประคองจิต ตั้งจิตไว้
เพื่อไม่ให้บาปอกุศลธรรมที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น
เพื่อละบาปอกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว
เพื่อให้กุศลธรรมที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น
เพื่อความตั้งอยู่ เพื่อความไม่เลือนหาย เพื่อเจริญยิ่งๆ ขึ้นไป เพื่อความไพบูลย์ ความเต็มรอบแห่งกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว
เหล่านี้เรียกว่า ปธานสังขาร
ฉันทะนี้ด้วย
ฉันทสมาธินี้ด้วย
และปธานสังขารนี้ด้วย
เรียกว่า อิทธิบาทประกอบด้วยฉันทะสมาธิ และปธานสังขาร
เรียกว่าอาศัยความชอบแล้วทำนั่นเอง
พวกชอบก็จะทำบ่อยๆ
ทั้งนี้การทำสิ่งที่ชอบนั้นต้องผ่านการฝึกสองขั้นแรกมาก่อน คือสติปัฏฐาน และสัมมัปปธาน
คือ เราเป็นผู้ใช้ชีวิตอย่างมีสติ ทำความเพียรเสมอ เพียรละอกุศลเสมอ
ทีนี้เมื่อได้ไปทำสิ่งที่ชอบ แล้วทำแล้วจิตตั้งมั่น
สมาธิอันนี้เรียกว่า ฉันทสมาธิ
ทีนี้พอได้ฉันทสมาธิแล้ว
ก็ต้องรักษาสมาธิอันนั้นไว้ด้วยความเพียร
ตัวความเพียรนั้นเรียกว่า ปธานสังขาร
หลายครั้งเราก็ได้สมาธิกับเขาเหมือนกัน เมื่อได้ทำสิ่งที่ชอบ
แต่รักษาไม่ได้ ก็จะไม่เป็นอิทธิบาท
เช่น บางคนชอบฟังธรรม
ฟังไปเจอจุดที่ตัวเข้าใจก็รู้สึกว่า เออ ใจเบิกบาน ตั้งมั่น
แต่รักษาไม่ได้ เพราะไม่มีปธานสังขาร
แป๊บเดียวอารมณ์กระทบ ไปแล้ว...
ไปสวดมนต์ เบิกบาน เป็นหนึ่ง
แต่ไม่รู้วิธีรักษา ไม่รู้ว่ามันมาจากอะไร
ไม่รู้ว่าถ้าจะให้สมาธิมันเกิดบ่อยๆ ต้องเป็นผู้ใช้ชีวิตอย่างมีสติ มีความเพียร
ป้องกันกิเลส รักษากุศลเสมอๆ
ทีนี้สมาธิมันมาจาก 4 ลักษณะ
อิทธิบาทซ่อมร่าง
อิทธิบาทนี่เป็นธรรมฝ่ายสมาธิ
ต่างจากธรรมหมวดอื่นๆ ตรงที่
นอกจากจะเกี่ยวกับการบรรลุธรรมแล้ว
ยังเกี่ยวกับการได้ฤทธิ์ ได้อภิญญาต่างๆ ด้วย
อิทธิบาทนี่ถ้าพูดในแง่การบรรลุธรรม
จะใช้คำแค่ว่า "เจริญ และกระทำให้มาก"
แต่ถ้าจะเอามาซ่อมร่างกาย
จะมีคำเพิ่ม "เจริญ กระทำให้มาก กระทำให้เป็นดุจยาน กระทำให้เป็นที่ตั้ง ให้คล่องแคล่ว"
คือ ต้องมีวสี ต้องชำนาญ
สรุปต้องเก่ง
ถ้าแค่กิ๊กๆ ก๊อกๆ ยังซ่อมร่างกายไม่ได้
ถ้าต้องการจะอายุยืนยาวด้วยสมาธิ ต้องคล่องแคล่ว
ใช้ไปซ่อมไป เหมือนพระพุทธเจ้าตอนจะปรินิพพาน
เดินทางไป เข้าสมาธิซ่อมไป
เหมือนพระโมคฯ โดนทุบหักไปหมดยังไม่ตาย
คอหักนี่หายใจออกทางสะดือ หรือทางผิวหนังก็ยังได้ ไม่ตาย
ที่ตายเพราะไปยึดว่าเป็นรูป หักก็ตายเลย
ท่านก็ซ่อม ประสานกระดูก ไปลาพระพุทธเจ้าก่อน
นี่เป็นอานิสงส์ของความชำนาญสมาธิ
ต่างจากธรรมหมวดอื่นๆ ตรงที่
นอกจากจะเกี่ยวกับการบรรลุธรรมแล้ว
ยังเกี่ยวกับการได้ฤทธิ์ ได้อภิญญาต่างๆ ด้วย
อิทธิบาทนี่ถ้าพูดในแง่การบรรลุธรรม
จะใช้คำแค่ว่า "เจริญ และกระทำให้มาก"
แต่ถ้าจะเอามาซ่อมร่างกาย
จะมีคำเพิ่ม "เจริญ กระทำให้มาก กระทำให้เป็นดุจยาน กระทำให้เป็นที่ตั้ง ให้คล่องแคล่ว"
คือ ต้องมีวสี ต้องชำนาญ
สรุปต้องเก่ง
ถ้าแค่กิ๊กๆ ก๊อกๆ ยังซ่อมร่างกายไม่ได้
ถ้าต้องการจะอายุยืนยาวด้วยสมาธิ ต้องคล่องแคล่ว
ใช้ไปซ่อมไป เหมือนพระพุทธเจ้าตอนจะปรินิพพาน
เดินทางไป เข้าสมาธิซ่อมไป
เหมือนพระโมคฯ โดนทุบหักไปหมดยังไม่ตาย
คอหักนี่หายใจออกทางสะดือ หรือทางผิวหนังก็ยังได้ ไม่ตาย
ที่ตายเพราะไปยึดว่าเป็นรูป หักก็ตายเลย
ท่านก็ซ่อม ประสานกระดูก ไปลาพระพุทธเจ้าก่อน
นี่เป็นอานิสงส์ของความชำนาญสมาธิ
วันเสาร์ที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2561
อิทธิบาท
บาทแห่งความสำเร็จ
ความสำเร็จในที่นี้พูด 2 อย่างคือ ทางฌาน/อภิญญา และวิปัสสนาญาณ/มรรคผล
อิทธิบาทเป็นชื่อของสมาธิ 4 ลักษณะ
คือวิธีการทำสมาธินั่นแหละ
เหตุที่ทำให้เกิดสมาธิ 4 อย่าง
อินทรีย์นี่ถ้าไม่ผ่านสติปัฏฐาน สัมมัปปธาน อิทธิบาทมันไม่เกิด
การปฏิบัติธรรมถ้าไม่ถึงขั้นสมาธินี่นิสัยมันไม่เปลี่ยน
ไม่ต้องถึงขั้นฌานก็ได้
แต่ให้ต่อเนื่อง ให้ถึงอิทธิบาท
อิทธิบาทนี่เป็นความสำเร็จฝ่ายสมาธิ
เหตุที่ทำให้ประสบความสำเร็จ
พื้นฐานที่ทำให้ประสบความสำเร็จ
อยากมีปัญญาถึงความหลุดพ้นก็ต้องผ่านสมาธิ
สมาธิตามหลักโพธิปักฯ ท่านเรียก อิทธิบาท
พอมีสมาธิจิตก็จะอ่อนโยนควรแก่การงาน
พอควรแก่การงานแล้ว ธรรมฝ่ายดีก็มาประชุม มาเป็นใหญ่แทน
ทั้งอินทรีย์ ทั้งพละ
เมื่อมีคุณธรรมเหล่านี้เป็นพื้นฐาน
ต่อไปก็สามารถเจริญวิปัสสนาตามโพชฌงค์ให้อริยมรรครวมลงได้ตามลำดับ
ฝึกสติไม่พอ
ต้องเพียรตามสัมมัปปธาน
พวกเราฝึกสติแล้วลองเช็คดูก็ได้
ว่ากิเลสยังเยอะรึป่าว
ถ้ายังเยอะ แสดงว่าบุญมาน้อย (ของเก่าทำมาน้อย)
ของเก่าน้อยก็ต้องทำความเพียร กันกิเลส เจริญกุศลใส่เข้ามา
เมื่อใช้ชีวิตอย่างผู้ไม่หลงลืมแล้ว
ก็ควรต้องมีเวลามาทำสมาธิเหมือนกัน
ไม่ใช่ว่าใช้ชีวิตมีสติทั่วไปแล้วสมาธิมันจะเกิด
แต่บางสมาธิมันก็เกิดจากเรื่องธรรมดาพื้นๆ ที่ทำประจำ
พวกนี้เรียก ฉันทะสมาธิ
คือทำเป็นประจำ และทำด้วยความมีสติรู้ตัว กันกิเลสได้ กุศลเจริญได้ในเรื่องนั้นๆ
พอทำบ่อยๆ สมาธิก็เกิดได้จากเรื่องนั้นๆ
นิวรณ์ถ้าหมดของเก่าถ้ามีก็จะขึ้นมา
แต่ถ้านิวรณ์ยังมีของเก่าก็ขึ้นไม่ได้
แต่บางพวกพอฝึกให้จิตมีสมาธิแล้ว...เงียบ
อันนี้คือพวกไม่ได้ฝึกมา พวกนี้ก็จะต้องมาฝึกวิปัสสนาต่อไป
ความสำเร็จในที่นี้พูด 2 อย่างคือ ทางฌาน/อภิญญา และวิปัสสนาญาณ/มรรคผล
อิทธิบาทเป็นชื่อของสมาธิ 4 ลักษณะ
คือวิธีการทำสมาธินั่นแหละ
เหตุที่ทำให้เกิดสมาธิ 4 อย่าง
อินทรีย์นี่ถ้าไม่ผ่านสติปัฏฐาน สัมมัปปธาน อิทธิบาทมันไม่เกิด
การปฏิบัติธรรมถ้าไม่ถึงขั้นสมาธินี่นิสัยมันไม่เปลี่ยน
ไม่ต้องถึงขั้นฌานก็ได้
แต่ให้ต่อเนื่อง ให้ถึงอิทธิบาท
อิทธิบาทนี่เป็นความสำเร็จฝ่ายสมาธิ
เหตุที่ทำให้ประสบความสำเร็จ
พื้นฐานที่ทำให้ประสบความสำเร็จ
อยากมีปัญญาถึงความหลุดพ้นก็ต้องผ่านสมาธิ
สมาธิตามหลักโพธิปักฯ ท่านเรียก อิทธิบาท
พอมีสมาธิจิตก็จะอ่อนโยนควรแก่การงาน
พอควรแก่การงานแล้ว ธรรมฝ่ายดีก็มาประชุม มาเป็นใหญ่แทน
ทั้งอินทรีย์ ทั้งพละ
เมื่อมีคุณธรรมเหล่านี้เป็นพื้นฐาน
ต่อไปก็สามารถเจริญวิปัสสนาตามโพชฌงค์ให้อริยมรรครวมลงได้ตามลำดับ
ฝึกสติไม่พอ
ต้องเพียรตามสัมมัปปธาน
พวกเราฝึกสติแล้วลองเช็คดูก็ได้
ว่ากิเลสยังเยอะรึป่าว
ถ้ายังเยอะ แสดงว่าบุญมาน้อย (ของเก่าทำมาน้อย)
ของเก่าน้อยก็ต้องทำความเพียร กันกิเลส เจริญกุศลใส่เข้ามา
เมื่อใช้ชีวิตอย่างผู้ไม่หลงลืมแล้ว
ก็ควรต้องมีเวลามาทำสมาธิเหมือนกัน
ไม่ใช่ว่าใช้ชีวิตมีสติทั่วไปแล้วสมาธิมันจะเกิด
แต่บางสมาธิมันก็เกิดจากเรื่องธรรมดาพื้นๆ ที่ทำประจำ
พวกนี้เรียก ฉันทะสมาธิ
คือทำเป็นประจำ และทำด้วยความมีสติรู้ตัว กันกิเลสได้ กุศลเจริญได้ในเรื่องนั้นๆ
พอทำบ่อยๆ สมาธิก็เกิดได้จากเรื่องนั้นๆ
นิวรณ์ถ้าหมดของเก่าถ้ามีก็จะขึ้นมา
แต่ถ้านิวรณ์ยังมีของเก่าก็ขึ้นไม่ได้
แต่บางพวกพอฝึกให้จิตมีสมาธิแล้ว...เงียบ
อันนี้คือพวกไม่ได้ฝึกมา พวกนี้ก็จะต้องมาฝึกวิปัสสนาต่อไป
วันพุธที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2561
ดูอะไรดี
สติปัฏฐานมีให้ดูตั้งหลายอัน
ดูอะไรดี
บอกกันไม่ได้
ต้องลองไปฝึกดูเอง
แล้วสังเกตว่าจิตใจมันดีงามขึ้นมั้ย
ได้ผลจากการฝึกมั้ย
สติปัฏฐาน
เขาฝึกเพื่อละอภิชฌาและโทมนัส
ละอุปกิเลส ละนิวรณ์
สังเกตนิมิต สังเกตเครื่องหมาย
ถ้าฝึกถึงจุด มันจะไม่หดหู่ ไม่ง่วงนอน
ไม่ยินดี ไม่ยินร้าย
ถ้าไปถูก
มันนึกถึงคนเกลียดก็ไม่โกรธ
ตื่นตอนเช้าก็ไม่งัวเงีย
เจอของน่ารักก็ไม่รัก ไม่ยินดี
อันนี้คือนิวรณ์มันหมด
ถ้าทำแล้วมันได้ผลอย่างนี้ก็ใช้ได้ทั้งนั้นแหละ
จะดูลม ดูกาย ดูอิริยาบถ ดูจิต ฯลฯ
ถ้าทำแล้วมันไม่ได้ผลอย่างนี้
ก็คือมันไม่เหมาะ
จะไปทำตามเขาก็ไม่ได้ผล
มันแล้วแต่คน
ไม่ต้องฝึกทั้งหมด เอาไม่กี่อันก็ได้
หรืออันเดียวเลยก็ได้
พอไม่มีนิวรณ์แล้วจะฝึกสมถะก็ฝึก
จะฝึกวิปัสสนาก็ฝึก
ดูอะไรดี
บอกกันไม่ได้
ต้องลองไปฝึกดูเอง
แล้วสังเกตว่าจิตใจมันดีงามขึ้นมั้ย
ได้ผลจากการฝึกมั้ย
สติปัฏฐาน
เขาฝึกเพื่อละอภิชฌาและโทมนัส
ละอุปกิเลส ละนิวรณ์
สังเกตนิมิต สังเกตเครื่องหมาย
ถ้าฝึกถึงจุด มันจะไม่หดหู่ ไม่ง่วงนอน
ไม่ยินดี ไม่ยินร้าย
ถ้าไปถูก
มันนึกถึงคนเกลียดก็ไม่โกรธ
ตื่นตอนเช้าก็ไม่งัวเงีย
เจอของน่ารักก็ไม่รัก ไม่ยินดี
อันนี้คือนิวรณ์มันหมด
ถ้าทำแล้วมันได้ผลอย่างนี้ก็ใช้ได้ทั้งนั้นแหละ
จะดูลม ดูกาย ดูอิริยาบถ ดูจิต ฯลฯ
ถ้าทำแล้วมันไม่ได้ผลอย่างนี้
ก็คือมันไม่เหมาะ
จะไปทำตามเขาก็ไม่ได้ผล
มันแล้วแต่คน
ไม่ต้องฝึกทั้งหมด เอาไม่กี่อันก็ได้
หรืออันเดียวเลยก็ได้
พอไม่มีนิวรณ์แล้วจะฝึกสมถะก็ฝึก
จะฝึกวิปัสสนาก็ฝึก
วันอังคารที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2561
วิญญาณทางตา
วิญญาณ
ความรู้แจ้งอารมณ์
วิญญาณทางตา ความรู้สึกทางตา
เมื่อกี้หลับตาอยู่
พอลืมตาก็รู้สึกว่ามีอะไรแปลกจากเมื่อกี้
นั่งมองทางนี้ รู้สึกอย่างนี้
หันหน้าไปอีกทาง รู้สึกอีกอย่าง
เป็นกระบวนการธรรมชาติ
ยังมีลูกตา ยังมีจักขุประสาท มันก็เห็นอยู่เรื่อย
เป็นเรื่องธรรมดาจึงต้องบริหารไป
ก็พามันไปเห็นสิ่งที่เป็นประโยชน์
ไม่ทุกข์ทรมาน
ถ้ารู้ว่าเป็นแค่สิ่งมากระทบให้รับรู้
ก็ไม่เดือดร้อน มันก็ผ่านไป
ถ้ารับรู้แล้วมันเดือดร้อนมาก ก็ไปรับรู้ให้มันน้อยลงหน่อย
บริหารไป
ถ้าปีกกล้าขาแข็ง
รับรู้แล้วไม่ทุกข์ไปกับสิ่งที่รับรู้
อยากจะช่วยเขา ก็บริหารไป
ถ้าอยากเอาอยู่ ก็บริหารไป
ท้ายที่สุดก็รู้ว่า ที่ดีที่สุดคือปล่อยวางมันดีสุดเลย
จะบริหารมันก็เหนื่อยอยู่
มีอะไรก็เหนือยเพราะอันนั้นแหละ
ความรู้แจ้งอารมณ์
วิญญาณทางตา ความรู้สึกทางตา
เมื่อกี้หลับตาอยู่
พอลืมตาก็รู้สึกว่ามีอะไรแปลกจากเมื่อกี้
นั่งมองทางนี้ รู้สึกอย่างนี้
หันหน้าไปอีกทาง รู้สึกอีกอย่าง
เป็นกระบวนการธรรมชาติ
ยังมีลูกตา ยังมีจักขุประสาท มันก็เห็นอยู่เรื่อย
เป็นเรื่องธรรมดาจึงต้องบริหารไป
ก็พามันไปเห็นสิ่งที่เป็นประโยชน์
ไม่ทุกข์ทรมาน
ถ้ารู้ว่าเป็นแค่สิ่งมากระทบให้รับรู้
ก็ไม่เดือดร้อน มันก็ผ่านไป
ถ้ารับรู้แล้วมันเดือดร้อนมาก ก็ไปรับรู้ให้มันน้อยลงหน่อย
บริหารไป
ถ้าปีกกล้าขาแข็ง
รับรู้แล้วไม่ทุกข์ไปกับสิ่งที่รับรู้
อยากจะช่วยเขา ก็บริหารไป
ถ้าอยากเอาอยู่ ก็บริหารไป
ท้ายที่สุดก็รู้ว่า ที่ดีที่สุดคือปล่อยวางมันดีสุดเลย
จะบริหารมันก็เหนื่อยอยู่
มีอะไรก็เหนือยเพราะอันนั้นแหละ
วันอาทิตย์ที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2561
ศาสนาพุทธไม่ได้สอนให้คนเป็นคนดี
คำสอนพระพุทธเจ้าไม่ได้สอนให้คนเป็นคนดีแค่นั้น
แต่สอนให้คนเป็นพระอริยะ
พระอริยะ หมายถึง ห่างไกลจากกิเลส
คนห่างไกลจากกิเลส กับคนดีไม่เหมือนกัน
คนดีจะมีกิเลสก็ได้
ก็มีกิเลสแบบคนดี
ก็ต้องทุกข์แบบคนดี
อยากช่วยเหลือคนอื่น ก็ต้องทุกข์เพราะอยากช่วยเหลือคนอื่น ก็ต้องไปหาทาง ฯลฯ
อยากเป็นเทวดา ก็ต้องทุกข์เพราะอยากเป็นเทวดา ก็ต้องไปทำบุญ ฯลฯ
อยากจิตสงบ ก็ต้องทุกข์เพราะอยากจะสงบ ก็ต้องไปหาวิธี ฯลฯ
ทุกข์มากทุกข์น้อยว่ากันไป
ส่วนทางพุทธสอนให้คนรู้ความจริงของสิ่งทั้งปวง
แล้วเลิกยึดถือมันเสีย
ทั้งดี - ไม่ดีนั่นแหละ
พูดแปลกๆ ก็คือ ที่อื่นสอนให้คนเป็นคนดี
พระพุทธศาสนาสอนให้เลิกเป็นคน
สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม
พระพุทธศาสนาสอนให้เลิกเป็นสัตว์โลกเสีย
มันวนเวียน วุ่นวาย ปัญหาแยะ
แต่สอนให้คนเป็นพระอริยะ
พระอริยะ หมายถึง ห่างไกลจากกิเลส
คนห่างไกลจากกิเลส กับคนดีไม่เหมือนกัน
คนดีจะมีกิเลสก็ได้
ก็มีกิเลสแบบคนดี
ก็ต้องทุกข์แบบคนดี
อยากช่วยเหลือคนอื่น ก็ต้องทุกข์เพราะอยากช่วยเหลือคนอื่น ก็ต้องไปหาทาง ฯลฯ
อยากเป็นเทวดา ก็ต้องทุกข์เพราะอยากเป็นเทวดา ก็ต้องไปทำบุญ ฯลฯ
อยากจิตสงบ ก็ต้องทุกข์เพราะอยากจะสงบ ก็ต้องไปหาวิธี ฯลฯ
ทุกข์มากทุกข์น้อยว่ากันไป
ส่วนทางพุทธสอนให้คนรู้ความจริงของสิ่งทั้งปวง
แล้วเลิกยึดถือมันเสีย
ทั้งดี - ไม่ดีนั่นแหละ
พูดแปลกๆ ก็คือ ที่อื่นสอนให้คนเป็นคนดี
พระพุทธศาสนาสอนให้เลิกเป็นคน
สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม
พระพุทธศาสนาสอนให้เลิกเป็นสัตว์โลกเสีย
มันวนเวียน วุ่นวาย ปัญหาแยะ
วันพฤหัสบดีที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2561
รอบรู้ทุกข์
เวลารู้กายกับใจไปตามความเป็นจริง
เราก็จะไม่ทุกข์ไปกับมัน
จะเจ็บปวดบ้าง จะเป็นไข้บ้าง
ก็ช่างมัน มันจะป่วยมันก็ไม่บอกเรา
มันจะหายมันก็ไม่บอกเรานะ
บังคับบัญชาไม่ได้
เราก็จะไม่ทุกข์ไปกับมัน
จะเจ็บปวดบ้าง จะเป็นไข้บ้าง
ก็ช่างมัน มันจะป่วยมันก็ไม่บอกเรา
มันจะหายมันก็ไม่บอกเรานะ
บังคับบัญชาไม่ได้
จริงหรือปลอม
ก็ดูให้เห็นว่ามันไม่เที่ยงนั่นแหละ
เห็นว่ามันไม่ใช่เราทั้งหมดนั่นแหละ
ไม่ต้องไปดูว่าจริงหรือปลอมก็ได้
ถ้าเรียนว่ามีนามกับรูป แล้วเข้าใจว่าก็เท่านั้น
ไม่มีตัวเรา
ก็เรียนแค่นี้ก็ได้ แต่ถ้าไม่เข้าใจสักทีก็เรียนไปเรื่อยๆ
เห็นว่ามันไม่ใช่เราทั้งหมดนั่นแหละ
ไม่ต้องไปดูว่าจริงหรือปลอมก็ได้
ถ้าเรียนว่ามีนามกับรูป แล้วเข้าใจว่าก็เท่านั้น
ไม่มีตัวเรา
ก็เรียนแค่นี้ก็ได้ แต่ถ้าไม่เข้าใจสักทีก็เรียนไปเรื่อยๆ
วันพุธที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2561
เจริญโพชฌงค์
โพชฌงค์ ถ้าจะทำก็ทำ 3 อย่าง
ตามองค์มรรคประจำ
สติ
ธัมมวิจัย
วิริยสัมโพชฌงค์
ที่เหลืออีก 4 เกิดเอง
ไปสร้างขึ้นก็ผิด
ตามองค์มรรคประจำ
สติ
ธัมมวิจัย
วิริยสัมโพชฌงค์
ที่เหลืออีก 4 เกิดเอง
ไปสร้างขึ้นก็ผิด
วันอังคารที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2561
ปัญญาก็เสมอกับความหลง
ปัญญาก็เสมอเหมือนกันความหลง
กิเลสมา
บางครั้งมีปัญญา เห็นแล้วดับไวเชียว
บางครั้งปัญญาไม่มา เห็นก็ไม่ได้ดับ กิเลสค้างอยู่นานเชียว
หรือปัญญามา
กิเลสมาปัญญาก็ดับได้เฉยเลยเหมือนกัน
ปัญญากับความหลงก็เสมอกัน
เกิดแล้วดับเหมือนกัน
กิเลสมา
บางครั้งมีปัญญา เห็นแล้วดับไวเชียว
บางครั้งปัญญาไม่มา เห็นก็ไม่ได้ดับ กิเลสค้างอยู่นานเชียว
หรือปัญญามา
กิเลสมาปัญญาก็ดับได้เฉยเลยเหมือนกัน
ปัญญากับความหลงก็เสมอกัน
เกิดแล้วดับเหมือนกัน
ปีติ
ปีติ
กำหนดแล้ว โอ้วววว มีความสุข
ปีติสมถะ
มีความสุขก็ดีกว่าไม่มีนะ
ปีติเด็กน้อย
ปีติผู้ใหญ่
เกิดจากการเข้าใจธรรม
เกิดจากความเข้าใจความจริง
เราฝึกเพื่อเข้าใจโลก
เพื่อเข้าใจความจริง
ปีติที่เกิดขึ้นมาเองเพราะว่าเห็นธรรมมันเปลี่ยนแปลงต่อหน้าต่อตา
มันเข้าใจ ปีติก็เกิด
กำหนดแล้ว โอ้วววว มีความสุข
ปีติสมถะ
มีความสุขก็ดีกว่าไม่มีนะ
ปีติเด็กน้อย
ปีติผู้ใหญ่
เกิดจากการเข้าใจธรรม
เกิดจากความเข้าใจความจริง
เราฝึกเพื่อเข้าใจโลก
เพื่อเข้าใจความจริง
ปีติที่เกิดขึ้นมาเองเพราะว่าเห็นธรรมมันเปลี่ยนแปลงต่อหน้าต่อตา
มันเข้าใจ ปีติก็เกิด
วันอาทิตย์ที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2561
ความรู้เกี่ยวกับอินทรีย์โดยถูกต้อง
สังเกตการแปล ความรู้อริยสัจของอินทรีย์
สทฺธินฺทฺริยํ ปชานนฺติ
สทฺธินฺทฺริยสมุทยํ ปชานนฺติ
สทฺธินฺทฺริยนิโรธํ ปชานนฺติ
สทฺธินฺทฺริยนิโรธคามินีปฏิปทํ ปชานนฺติ
สทฺธินฺทฺริยํ ปชานนฺติ
ย่อมรู้ชัด สัทธินทรีย์
กล่าวคือ ย่อมรู้ชัดว่าสัทธินทรีย์ก็เป็นธรรมอย่างหนึ่ง เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัยและก็แตกทำลายไป
เช่นเดียวกับธรรมอืีนๆ เช่นเดียวกับรูปนามอื่นๆ
มาเรียนรู้อินทรีย์ ไม่ใช่ว่าเพื่อไปกอดมันเอาไว้ว่าเป็นของดี
มีความไม่เที่ยง บังคับบัญชาเอาตามใจไม่ได้
สทฺธินฺทฺริยสมุทยํ ปชานนฺติ
รู้ชัดเหตุเกิดของสัทธินทรีย์
หน้าที่ของเราคือทำเหตุ
พอทำเหตุแล้ว มันจะมาเมื่อไร ก็บังคับบัญชาไม่ได้นะ
สทฺธินฺทฺริยนิโรธํ ปชานนฺติ
รู้ความอิสระจากสัทธินทรีย์
ไม่ต้องใช้สัทธินทรีย์อีกต่อไปแล้ว
ผู้ที่อินทรีย์สมบูรณ์ก็คือพระอรหันต์
อินทรีย์ทั้ง 5 นี้อยู่ในฐานะแพข้ามเฉยๆ
เมื่อถึงที่สุดก็ปล่อยวาง
ฉะนั้น มีปัญญา ก็ไม่ใช่เพื่อมีปัญญา
มีปัญญาเพื่อจะละความเห็นผิด
ละความเห็นผิดในปัญญา ละความเห็นผิดในสภาวะธรรมอื่นๆ
มารู้จักอินทรีย์
ไม่ใช่เพื่อเอาอินทรีย์
ไม่ใช่เพื่อมีอินทรีย์เยอะๆ
แต่เพื่อละความเห็นผิดในอินทรีย์
เพื่อละความยึดมั่นถือมั่นในอินทรีย์
เพื่อปล่อยวางอินทรีย์
สทฺธินฺทฺริยนิโรธคามินีปฏิปทํ ปชานนฺติ
รู้ชัดข้อปฏิบัติที่จะทำให้ถึงความเป็นอิสระจากอินทรีย์
เห็นธรรมทั้งหมดรวมลงที่อริยสัจ
ไม่เว้นแม้ของดีๆ เหล่านี้ด้วย
สทฺธินฺทฺริยํ ปชานนฺติ
สทฺธินฺทฺริยสมุทยํ ปชานนฺติ
สทฺธินฺทฺริยนิโรธํ ปชานนฺติ
สทฺธินฺทฺริยนิโรธคามินีปฏิปทํ ปชานนฺติ
สทฺธินฺทฺริยํ ปชานนฺติ
ย่อมรู้ชัด สัทธินทรีย์
กล่าวคือ ย่อมรู้ชัดว่าสัทธินทรีย์ก็เป็นธรรมอย่างหนึ่ง เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัยและก็แตกทำลายไป
เช่นเดียวกับธรรมอืีนๆ เช่นเดียวกับรูปนามอื่นๆ
มาเรียนรู้อินทรีย์ ไม่ใช่ว่าเพื่อไปกอดมันเอาไว้ว่าเป็นของดี
มีความไม่เที่ยง บังคับบัญชาเอาตามใจไม่ได้
สทฺธินฺทฺริยสมุทยํ ปชานนฺติ
รู้ชัดเหตุเกิดของสัทธินทรีย์
หน้าที่ของเราคือทำเหตุ
พอทำเหตุแล้ว มันจะมาเมื่อไร ก็บังคับบัญชาไม่ได้นะ
สทฺธินฺทฺริยนิโรธํ ปชานนฺติ
รู้ความอิสระจากสัทธินทรีย์
ไม่ต้องใช้สัทธินทรีย์อีกต่อไปแล้ว
ผู้ที่อินทรีย์สมบูรณ์ก็คือพระอรหันต์
อินทรีย์ทั้ง 5 นี้อยู่ในฐานะแพข้ามเฉยๆ
เมื่อถึงที่สุดก็ปล่อยวาง
ฉะนั้น มีปัญญา ก็ไม่ใช่เพื่อมีปัญญา
มีปัญญาเพื่อจะละความเห็นผิด
ละความเห็นผิดในปัญญา ละความเห็นผิดในสภาวะธรรมอื่นๆ
มารู้จักอินทรีย์
ไม่ใช่เพื่อเอาอินทรีย์
ไม่ใช่เพื่อมีอินทรีย์เยอะๆ
แต่เพื่อละความเห็นผิดในอินทรีย์
เพื่อละความยึดมั่นถือมั่นในอินทรีย์
เพื่อปล่อยวางอินทรีย์
สทฺธินฺทฺริยนิโรธคามินีปฏิปทํ ปชานนฺติ
รู้ชัดข้อปฏิบัติที่จะทำให้ถึงความเป็นอิสระจากอินทรีย์
เห็นธรรมทั้งหมดรวมลงที่อริยสัจ
ไม่เว้นแม้ของดีๆ เหล่านี้ด้วย
ปัญญินทรีย์
ปัญญามีหน้าที่เห็นสภาวะธรรมตามจริง
เห็นรูปเป็นรูป ไม่ใช่ตัวเรา
เห็นเวทนาเป็นเวทนา ไม่ใช่ตัวเรา
เห็นสัญญา ความจำได้หมายรู้ เป็นสัญญา ไม่ใช่ตัวเรา
เห็นความคิด จับเอาสัญญากับเวทนามายำรวมกัน ปรุงขึ้น ไม่ใช่ตัวเรา
เห็นเป็นแต่รูป เป็นแต่นาม ไม่ใช่ตัวเรา เป็นไปตามไตรลักษณ์
ไม่ใช่แค่เห็นรูป เห็นนาม
แต่เห็นด้วยว่ารูป เป็นของไม่เที่ยง ไม่ใช่ตัวเรา จึงเป็นปัญญา
อวิชชาจะทำให้ติดสมมติบัญญัติ
ติดชื่อเสียง ลาภยศ
ปัญญาจะทำให้เห็นสภาพแท้จริง
ไม่หลงงมงายไปกับสมมติบัญญัติทางโลก
เห็นรูปเป็นรูป ไม่ใช่ตัวเรา
เห็นเวทนาเป็นเวทนา ไม่ใช่ตัวเรา
เห็นสัญญา ความจำได้หมายรู้ เป็นสัญญา ไม่ใช่ตัวเรา
เห็นความคิด จับเอาสัญญากับเวทนามายำรวมกัน ปรุงขึ้น ไม่ใช่ตัวเรา
เห็นเป็นแต่รูป เป็นแต่นาม ไม่ใช่ตัวเรา เป็นไปตามไตรลักษณ์
ไม่ใช่แค่เห็นรูป เห็นนาม
แต่เห็นด้วยว่ารูป เป็นของไม่เที่ยง ไม่ใช่ตัวเรา จึงเป็นปัญญา
อวิชชาจะทำให้ติดสมมติบัญญัติ
ติดชื่อเสียง ลาภยศ
ปัญญาจะทำให้เห็นสภาพแท้จริง
ไม่หลงงมงายไปกับสมมติบัญญัติทางโลก
สมาธินทรีย์
สมาธินทรีย์
คอยทำให้จิตตั้งมั่นในการเรียนรู้ศึกษา
อารมณ์จะดีไม่ดี จะแรง จะเบา ก็ตั้งมั่นในการเรียนรู้
เห็นความเท่ากันของอารมณ์
ไม่ซัดส่าย
ไม่วิ่งตะครุบของดี
ไม่วิ่งหนีของไม่ดี
สมาธินทรีย์ทำหน้าที่
ทำให้จิตตั้งมั่นไม่ซัดส่าย
เห็นความเป็นของเกิดแล้วดับไปเสมอกัน
สงบก็รู้ว่าไม่เที่ยง
ไม่สงบก็รู้ว่าไม่เที่ยง
ทั้งสองสภาวะ ก็เป็นเพียงสภาวะหนึ่ง
เป็นสิ่งที่ถูกรู้ถูกดูเหมือนกัน
ถ้ามีสมาธิพละ คือกำจัดความฟุ้งซ่านได้
ความฟุ้งซ่านไม่ใช่แค่คิดเรื่องไม่เป็นเรื่อง
ความฟุ้งซ่านต่อธรรมะ ก็คือความยินดียินร้าย
ความเที่ยวตะครุบนั่นนี่
เที่ยววิ่งหนีนั่นนี่
คอยทำให้จิตตั้งมั่นในการเรียนรู้ศึกษา
อารมณ์จะดีไม่ดี จะแรง จะเบา ก็ตั้งมั่นในการเรียนรู้
เห็นความเท่ากันของอารมณ์
ไม่ซัดส่าย
ไม่วิ่งตะครุบของดี
ไม่วิ่งหนีของไม่ดี
สมาธินทรีย์ทำหน้าที่
ทำให้จิตตั้งมั่นไม่ซัดส่าย
เห็นความเป็นของเกิดแล้วดับไปเสมอกัน
สงบก็รู้ว่าไม่เที่ยง
ไม่สงบก็รู้ว่าไม่เที่ยง
ทั้งสองสภาวะ ก็เป็นเพียงสภาวะหนึ่ง
เป็นสิ่งที่ถูกรู้ถูกดูเหมือนกัน
ถ้ามีสมาธิพละ คือกำจัดความฟุ้งซ่านได้
ความฟุ้งซ่านไม่ใช่แค่คิดเรื่องไม่เป็นเรื่อง
ความฟุ้งซ่านต่อธรรมะ ก็คือความยินดียินร้าย
ความเที่ยวตะครุบนั่นนี่
เที่ยววิ่งหนีนั่นนี่
จิตที่ขาดความสุขคือขาดสติดูแล - สตินทรีย์
ถ้ามีสติทำหน้าที่อยู่
ก็จะไม่หลงล่องลอยไปตรงนั้นตรงนี้
คอยคุ้มครองรักษาจิตเอาไว้
จิตก็จะมีความสุข
มีที่พึ่งด้วยตัวของจิตเอง
อาการที่จิตมีสติมาดูแลจิตใจบ่อยๆ
จิตใจจะมีความอบอุ่น
ทำให้ไม่เบื่อ
แต่ถ้าไม่ค่อยมีสติ
อยู่คนเดียวมันก็จะออกอาการมาทำนองเบื่อๆ
อาการเบื่อๆ เปิดทีวีหน่อย ทำนั่นหน่อยนี่หน่อย ไปคุยหน่อย
อาการที่จิตไม่มีความสุขในตัวเอง เป็นอาการที่จิตไม่มีสติ
แต่ถ้าสติคุ้มครองอยู่
สติจะทำหน้าที่ให้จิตมีความสุข ไม่หลงไปเรื่องนั้นเรื่องนี้
ไม่เกิดทุกข์มาก
ดังนั้นที่เป็นทุกข์อยู่ทุกวันนี้
ก็ไม่มีอะไรมาก
คือจิตมันหลงไป หลงไปก็ไปคิดเรื่องนั้นเรื่องนี้
แล้วก็ทุกข์ วนไป ไม่มีอะไร มีแค่นี้แหละ
ถ้าสติไม่ดูแลอยู่
จิตก็จะเป็นทุกข์ได้ง่าย
มีความสามารถในการเป็นทุกข์
สติที่พัฒนาจะทำให้จิตมีความสามารถในการเป็นสุข
สติที่ตามศึกษาอยู่กับกายใจไปเรื่อยๆ นี่จะกำจัดความประมาท
เห็นหน้าแม่ก็รู้ แม่ต้องตายแหงๆ เลย
นึกขึ้นได้ก็ทำหน้าที่ของลูกตามสมควร
พอแม่ไปจริงๆ เราก็ไม่เศร้า เพราะทำหน้าที่ดีแล้ว
เหมือนเห็นแก้ว ก็คิดว่ามันต้องแตกแหงๆ
แต่ถ้าไม่มีสติ มันจะไม่เคยคิดอย่างงี้เลย
มีแต่หลงประมาทมัวเมาอยู่ แก้วไม่แตกก็ดีใจ สบาย
พอวันนึงมันแตกขึ้นมาก็โศกเสียใจ
เหมือนร่างกายนี่แหละ
มันยังขยับเขยื้อนได้ พูดได้ กินได้ ก็สบายใจ
พอนอนรพ.ทีนึงก็นึกขึ้นได้ว่ามันตายได้
อันนี้มันไม่มีสติ
ต้องมาฝึกดูกายดูใจจนกลายเป็นสตินทรีย์
จึงสามารถกำจัดความประมาทเลินเล่อ
ถ้าไม่ประมาท ศึกษากายใจ จนเข้าใจความจริง
เหตุการณ์ภายนอกจะเป็นอย่างไรก็ไม่ทุกข์
ก็จะไม่หลงล่องลอยไปตรงนั้นตรงนี้
คอยคุ้มครองรักษาจิตเอาไว้
จิตก็จะมีความสุข
มีที่พึ่งด้วยตัวของจิตเอง
อาการที่จิตมีสติมาดูแลจิตใจบ่อยๆ
จิตใจจะมีความอบอุ่น
ทำให้ไม่เบื่อ
แต่ถ้าไม่ค่อยมีสติ
อยู่คนเดียวมันก็จะออกอาการมาทำนองเบื่อๆ
อาการเบื่อๆ เปิดทีวีหน่อย ทำนั่นหน่อยนี่หน่อย ไปคุยหน่อย
อาการที่จิตไม่มีความสุขในตัวเอง เป็นอาการที่จิตไม่มีสติ
แต่ถ้าสติคุ้มครองอยู่
สติจะทำหน้าที่ให้จิตมีความสุข ไม่หลงไปเรื่องนั้นเรื่องนี้
ไม่เกิดทุกข์มาก
ดังนั้นที่เป็นทุกข์อยู่ทุกวันนี้
ก็ไม่มีอะไรมาก
คือจิตมันหลงไป หลงไปก็ไปคิดเรื่องนั้นเรื่องนี้
แล้วก็ทุกข์ วนไป ไม่มีอะไร มีแค่นี้แหละ
ถ้าสติไม่ดูแลอยู่
จิตก็จะเป็นทุกข์ได้ง่าย
มีความสามารถในการเป็นทุกข์
สติที่พัฒนาจะทำให้จิตมีความสามารถในการเป็นสุข
สติที่ตามศึกษาอยู่กับกายใจไปเรื่อยๆ นี่จะกำจัดความประมาท
เห็นหน้าแม่ก็รู้ แม่ต้องตายแหงๆ เลย
นึกขึ้นได้ก็ทำหน้าที่ของลูกตามสมควร
พอแม่ไปจริงๆ เราก็ไม่เศร้า เพราะทำหน้าที่ดีแล้ว
เหมือนเห็นแก้ว ก็คิดว่ามันต้องแตกแหงๆ
แต่ถ้าไม่มีสติ มันจะไม่เคยคิดอย่างงี้เลย
มีแต่หลงประมาทมัวเมาอยู่ แก้วไม่แตกก็ดีใจ สบาย
พอวันนึงมันแตกขึ้นมาก็โศกเสียใจ
เหมือนร่างกายนี่แหละ
มันยังขยับเขยื้อนได้ พูดได้ กินได้ ก็สบายใจ
พอนอนรพ.ทีนึงก็นึกขึ้นได้ว่ามันตายได้
อันนี้มันไม่มีสติ
ต้องมาฝึกดูกายดูใจจนกลายเป็นสตินทรีย์
จึงสามารถกำจัดความประมาทเลินเล่อ
ถ้าไม่ประมาท ศึกษากายใจ จนเข้าใจความจริง
เหตุการณ์ภายนอกจะเป็นอย่างไรก็ไม่ทุกข์
ความขี้เกียจ VS วิริยินทรีย์
เมื่อได้ผลดีก็ขยัน
เมื่อไม่ได้ผลดีก็ขี้เกียจ
อันนี้พลาดตรงที่ไม่ได้ดูอาการที่จิตมันขยัน อยากจะทำ
หน้าที่วิริยะคือ ประคองให้มันอยู่ในลู่ทางแห่งการศึกษากายใจ
ไม่ใช่ไปหลบตรงนั้น ไปพักตรงนี้
เกียจคร้านคือ มันไปทำอย่างอื่นนอกจากมารู้กายรู้ใจ
คือไม่ใช่แค่ว่า ไปดูทีวี ที่เรียกว่าเกียจคร้าน
แม้แต่การไปทำอะไรประหลาดๆ หรือขยันทั้งวันทั้งคืน
คือ ไม่เกิดความรู้สึกตัวอย่างต่อเนื่อง
แทนที่จะตามดูกายดูใจ มีความรู้สึกตัว
บางครั้งหลง บางครั้งรู้สึก
นานบ้าง ไม่นานบ้าง
แทนที่จะเป็นอย่างนี้ไปตามลำดับ ดันไปทำ "อย่างอื่น" แบบนี้เรียก ขี้เกียจ
เช่น ทำให้จิตสงบนานๆ บ้าง
ทำให้มีความสุขบ้าง
คือจะทำสมถะบ้างตามสมควร
ก็ต้องมีสัมปชัญญะประกอบ คือ ทำเพื่ออะไร (สาตถกสัมปชัญญะ)
ควรจะทำตอนไหน ใช้เวลาเท่าไร (สัปปายสัมปชัญญะ)
ไม่ใช่มีอะไรนิดอะไรหน่อยก็เข้าสมถะ
มันก็จะเนิ่นช้าในการเกิดปัญญา
เมื่อไม่ได้ผลดีก็ขี้เกียจ
อันนี้พลาดตรงที่ไม่ได้ดูอาการที่จิตมันขยัน อยากจะทำ
หน้าที่วิริยะคือ ประคองให้มันอยู่ในลู่ทางแห่งการศึกษากายใจ
ไม่ใช่ไปหลบตรงนั้น ไปพักตรงนี้
เกียจคร้านคือ มันไปทำอย่างอื่นนอกจากมารู้กายรู้ใจ
คือไม่ใช่แค่ว่า ไปดูทีวี ที่เรียกว่าเกียจคร้าน
แม้แต่การไปทำอะไรประหลาดๆ หรือขยันทั้งวันทั้งคืน
คือ ไม่เกิดความรู้สึกตัวอย่างต่อเนื่อง
แทนที่จะตามดูกายดูใจ มีความรู้สึกตัว
บางครั้งหลง บางครั้งรู้สึก
นานบ้าง ไม่นานบ้าง
แทนที่จะเป็นอย่างนี้ไปตามลำดับ ดันไปทำ "อย่างอื่น" แบบนี้เรียก ขี้เกียจ
เช่น ทำให้จิตสงบนานๆ บ้าง
ทำให้มีความสุขบ้าง
คือจะทำสมถะบ้างตามสมควร
ก็ต้องมีสัมปชัญญะประกอบ คือ ทำเพื่ออะไร (สาตถกสัมปชัญญะ)
ควรจะทำตอนไหน ใช้เวลาเท่าไร (สัปปายสัมปชัญญะ)
ไม่ใช่มีอะไรนิดอะไรหน่อยก็เข้าสมถะ
มันก็จะเนิ่นช้าในการเกิดปัญญา
สัทธินทรีย์ สัทธาพละ
ศรัทธา
การทำหน้าที่ : น้อมจิตไปอย่างเด็ดเดี่ยว
มีกำลังในการ : กำจัดความไม่เชื่อถือ
ศรัทธา
เป็นความเชื่อในเหตุผลที่พระองค์แสดง
ไม่ใช่เชื่อในตัวบุคคล
เมื่อเห็นเหตุเห็นผล
จิตมันก็น้อมไปทางนั้น
เพราะถ้าน้อมไปทางอื่นมันก็ทุกข์
พิจารณาก็เห็นๆ อยู่
เมื่อศรัทธามีอยู่
ก็จะกำจัดความไม่เชื่อถือ กำจัดความไม่มีเหตุผล
ปกติจิตมันไม่ค่อยมีเหตุผล
แดดร้อนก็ด่าแดด
ฝนตกก็ด่าฟ้า
หมาเห่าทำไมไม่เกรงใจเราเลย
คือหมาไม่ได้มีหน้าที่เกรงใจเรา
แต่เรามีหน้าที่เข้าใจโลกตามความเป็นจริง
ต่อมาเมื่อมีศรัทธามากขึ้น
เราจะฟังใครก็ได้ที่มีเหตุผล
เพราะศรัทธาต่อความจริง ศรัทธาต่อธรรม
แม้ตอนนี้ยังไม่เห็น ก็วางเอาไว้ก่อน
ไม่ได้เป็นแบบว่า แบบเราเท่านั้นจริง แบบนี้ถูกเสมอ
แบบอื่นไม่ใช่ แบบอื่นผิด
ที่เราคิด อาจถูก อาจผิด เราก็ศึกษาไป ปฏิบัติไป
ส่วนความจริงเป็นอย่างไร ก็วางเอาไว้ก่อน
การทำหน้าที่ : น้อมจิตไปอย่างเด็ดเดี่ยว
มีกำลังในการ : กำจัดความไม่เชื่อถือ
ศรัทธา
เป็นความเชื่อในเหตุผลที่พระองค์แสดง
ไม่ใช่เชื่อในตัวบุคคล
เมื่อเห็นเหตุเห็นผล
จิตมันก็น้อมไปทางนั้น
เพราะถ้าน้อมไปทางอื่นมันก็ทุกข์
พิจารณาก็เห็นๆ อยู่
เมื่อศรัทธามีอยู่
ก็จะกำจัดความไม่เชื่อถือ กำจัดความไม่มีเหตุผล
ปกติจิตมันไม่ค่อยมีเหตุผล
แดดร้อนก็ด่าแดด
ฝนตกก็ด่าฟ้า
หมาเห่าทำไมไม่เกรงใจเราเลย
คือหมาไม่ได้มีหน้าที่เกรงใจเรา
แต่เรามีหน้าที่เข้าใจโลกตามความเป็นจริง
ต่อมาเมื่อมีศรัทธามากขึ้น
เราจะฟังใครก็ได้ที่มีเหตุผล
เพราะศรัทธาต่อความจริง ศรัทธาต่อธรรม
แม้ตอนนี้ยังไม่เห็น ก็วางเอาไว้ก่อน
ไม่ได้เป็นแบบว่า แบบเราเท่านั้นจริง แบบนี้ถูกเสมอ
แบบอื่นไม่ใช่ แบบอื่นผิด
ที่เราคิด อาจถูก อาจผิด เราก็ศึกษาไป ปฏิบัติไป
ส่วนความจริงเป็นอย่างไร ก็วางเอาไว้ก่อน
อินทรีย์ และพละ
ตัว "องค์ธรรม" และ "สภาวะ"
ทั้งอินทรีย์และพละเหมือนกัน
อาการที่ธรรมะได้เกิดขึ้นทำหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่ง
เช่น ศรัทธา เมื่อเกิดขึ้น
ก็ทำหน้าที่ให้จิตดิ่ง มุ่งตรงต่อการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า
เราศึกษาแล้ว พิจารณาแล้ว เราก็จิตใจโน้มเอียงดิ่งไปทางนั้น
เช่นนี้เรียกว่า ศรัทธาได้ทำหน้าที่
หรือเมื่อความเพียรที่ถูกต้องเกิดขึ้น
มันก็จะทำหน้าที่ประคองจิตไม่ให้วอกแว่กออกนอกทาง
สามารถศึกษากายใจ ไม่ว่าจะดีบ้างไม่ดีบ้าง
ได้ผลบ้างไม่ได้ผลบ้าง เพื่อเห็นความจริง
ว่ามันไม่เที่ยง บังคับบัญชาไม่ได้
แบบนี้เรียกว่า วิริยะได้ทำหน้าที่
ส่วนพละ คือกำลังที่กำจัดอกุศลได้
อกุศล ก็เป็นธรรมฝ่ายตรงข้ามกับพละหมวดนั้น
เช่น ศรัทธา ฝ่ายตรงข้ามก็คือความไม่มีเหตุไม่มีผล
ความไม่เชื่อ ความไม่โน้มน้อมดิ่งไป
ศรัทธานี่ เชื่อในเหตุในผล ในปัญญาตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า
เรียกว่า ตถาคตโพธิสัทธา
แต่ไม่ใช่เชื่อว่าพระพุทธเจ้ามี เจ้าชายสิทธัตถะมี ออกบวชตอน 29 (อันนี้โลกๆ ไปหน่อย)
เมื่อเชื่อในเหตุในผล ก็พร้อมจะเปิดใจฟัง
ไม่ยึดอยู่กับความเห็นใดความเห็นหนึ่ง
ไม่ได้ยึดว่าเราต้องถูกเสมอ
เชื่อการตรัสรู้ว่ามีจริง ก็มุ่งไปที่ความจริงเป็นหลัก
ไม่ได้เอาทิฏฐิ เอาความเห็นตัวเองเป็นใหญ่
แบบนี้เรียกว่า ศรัทธาได้ทำหน้าที่
เมื่อศรัทธาทำหน้าที่
มันก็จะเป็นไปเพื่อการเจริญปัญญายิ่งๆ ขึ้นไป
เมื่อศรัทธาทำหน้าที่
ก็จะกำจัดอกุศลที่เป็นฝ่ายตรงข้ามได้
ตอนทำหน้าที่ เรียกสัทธินทรีย์
เมื่อมีกำลังมากขึ้น สามารถกำจัดอกุศลได้ เรียก ศรัทธาพละ
สมมติวิริยะ
เมื่อวิริยะเกิดขึ้น ทำหน้าที่
สภาวะธรรมอะไรเกิดขึ้น ก็พร้อมจะประคองจิตเอาไว้
ให้ตรงต่อการเฝ้ารู้ เฝ้าดูไป ศึกษาไปตามความเป็นจริง
มันจะได้ผล ไม่ได้ผล
ได้ผลเร็ว ได้ผลช้า
ได้ผลเหมือน หรือไม่เหมือนคนอื่น ก็ไม่เป็นไร
อาการอย่างนี้เรียกว่ามีความเพียรดี (ความเพียรที่จะทำให้จิตเกิดปัญญา)
ไม่ใช่เพียรอย่างอื่น
ไม่ใช่ว่า เราทำความเพียรมาเท่านั้นเท่านี้ปีแล้ว
น่าจะเห็นนั้นบ้าง น่าจะเห็นนี้บ้าง
อันนี้ออกนอกทาง ชื่อว่าไม่เพียร กลายเป็นตัณหา
ถ้าความเพียรได้ทำหน้าที่
ก็จะเกิดพละ เป็นกำลังที่กำจัดอกุศลฝ่ายตรงข้าม
ก็คือความขี้เกียจ
ตัวองค์ธรรมนั้นเหมือนกัน
แต่ความมีกำลังนั้นแตกต่างกันออกไป
ถ้าสมบูรณ์ก็รวมตัวลงเป็นอริยมรรค
วันเสาร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2561
ปหานปธานละอะไร ละความเคยชิน
ที่ละคือ
ละความเคยชินของจิตที่จะทำให้คิดไปในแง่เบียดเบียน ต้องการเหนือ ต้องการเอาชนะ
ความเคยชินของจิตที่เป็นไปในแง่กาม
หน้าที่คือดูมัน
ดูไป มันจะไปละความเคยชินที่สั่งสมมานาน
ส่วนกิเลสนั้นที่เกิดขึ้นจากความเคยชิน
อันนั้นเป็นตัวทุกข์ มันเกิดเพราะเหตุปัจจัย
เกิดแล้วต้องดับเป็นเรื่องปกติ
ละความเคยชินของจิตที่จะทำให้คิดไปในแง่เบียดเบียน ต้องการเหนือ ต้องการเอาชนะ
ความเคยชินของจิตที่เป็นไปในแง่กาม
หน้าที่คือดูมัน
ดูไป มันจะไปละความเคยชินที่สั่งสมมานาน
ส่วนกิเลสนั้นที่เกิดขึ้นจากความเคยชิน
อันนั้นเป็นตัวทุกข์ มันเกิดเพราะเหตุปัจจัย
เกิดแล้วต้องดับเป็นเรื่องปกติ
บาปอกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว
บาปอกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว
ก็คือความเคยชินของจิต
ได้ยินเสียงนินทาแล้วเป็นยังไง
เห็นป้ายลดราคาแล้วเป็นยังไง
ถ้าทำความเพียรได้ถูกต้อง
ผลของความเพียรก็จะเป็น 4 อย่าง
ก็คือความเคยชินของจิต
ได้ยินเสียงนินทาแล้วเป็นยังไง
เห็นป้ายลดราคาแล้วเป็นยังไง
ถ้าทำความเพียรได้ถูกต้อง
ผลของความเพียรก็จะเป็น 4 อย่าง
- ป้องกันอกุศลที่ยังไม่เกิด
- ละบาปอกุศลที่เกิดขึ้นแล้ว
- รักษากุศลที่เกิดแล้ว
- ยังกุศลที่ยังไม่เกิดให้เกิด
วายมติ วิริยมฺ อารภติ
วายมติ วิริยมฺ อารภติ
วิริยะคือ ก้าวหน้าไปไม่ท้อถอย กล้าหาญยิ่งๆ ขึ้นไป
ตามเห็นความขยัน ขี้เกียจของจิต
มันก็ไม่เที่ยงหรอกนะ
จิตตัง ปัคคัณหาติ
ประคองจิต
ไม่ใช่ประคองจิตให้ดี
แต่ประคองให้มันเดินไปในทางที่ถูกต้อง ไม่ให้ออกนอกลู่นอกทาง
จิตมันจะดีบ้างไม่ดีบ้างก็ไม่เป็นไร
ขยันบ้าง ขี้เกียจบ้าง
ก็ยังประคองมันให้อยู่ทางนี้ตลอด
ประคองให้อยู่ในทางที่จะเห็นความจริง
ก็คือความจริงมันเป็นยังไง ก็ประคองให้มันเป็นไปตามนั้น
ส่วนมากจะหลงตรงนี้ !!!!
คือบางทีความเป็นมันเป็นอย่างนี้
ก็ประคองจิตให้มันเห็นตามนี้
ถ้าไปปรับ ไปดัดแปลง ไปกลับกลอก มันก็ไม่เห็นความจริงสักที
อาการดัดแปลง ถ้าทำถูกมันก็เป็นสมถะ
ก็ทำได้ตามสมควร ไม่ใช่ทำตลอด
ถ้าทำตลอด มันก็ไม่เห็นความจริง
ขี้เกียจบ้าง ก็ขยันดูความขี้เกียจ
ขยันบ้าง ก็ขยันดูความขยัน
ความเพียรที่เป็นสัมมัปปธาน ไม่ได้ต้องการเอาดี
เป็นความเพียรที่ต้องการพ้นทุกข์
เป็นความเพียรที่ให้เกิดปัญญา ก้าวหน้าไปในธรรม
เช่น มันขี้เกียจก็มาดูให้เห็นว่าความขี้เกียจนี่ก็เป็นธรรมอย่างหนึ่ง
บังคับไม่ได้ มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ
พอหมดขี้เกียจ สักหน่อยมันก็เฉยๆ หรือขยัน
ขยันก็ดูว่ามันขยัน วิธีดูก็เหมือนดูขี้เกียจนั่นแหละ
เพียรให้จิตมันเดินก้าวหน้าไปในธรรม
คำว่าก้าวหน้าไปในธรรมนี่
ไม่ได้แปลว่า เห็นอะไรแล้วมันดับหมด หรือจิตดีขึ้นเรื่อยๆ ฯลฯ
เราไม่ได้ดูให้มันดับนะ เราดูให้มันเห็นความเป็นจริง
ดูให้มันเห็นว่าทุกสิ่งทีเกิดขึ้นมันก็ดับไปนั่นแหละ
แต่จะดับตอนไหนก็ขึ้นกับเหตุ เหตุน้อยก็ดับเร็ว
ความก้าวหน้าไปในธรรม หมายถึง จิตเป็นกลางต่อสภาวะธรรม
สภาวธรรมจะดีหรือไม่ดี จะสุขหรืออะไร ก็เป็นกลาง
เห็นว่าทุกอย่างเป็นธรรมะเท่านั้น จนมันเห็นว่าทุกอย่างเป็นทุกข์ล้วนๆ นั่นแหละจึงปล่อยได้
ไม่ใช่เพียรเอาดี เพียรหนีร้าย
วิริยะคือ ก้าวหน้าไปไม่ท้อถอย กล้าหาญยิ่งๆ ขึ้นไป
ตามเห็นความขยัน ขี้เกียจของจิต
มันก็ไม่เที่ยงหรอกนะ
จิตตัง ปัคคัณหาติ
ประคองจิต
ไม่ใช่ประคองจิตให้ดี
แต่ประคองให้มันเดินไปในทางที่ถูกต้อง ไม่ให้ออกนอกลู่นอกทาง
จิตมันจะดีบ้างไม่ดีบ้างก็ไม่เป็นไร
ขยันบ้าง ขี้เกียจบ้าง
ก็ยังประคองมันให้อยู่ทางนี้ตลอด
ประคองให้อยู่ในทางที่จะเห็นความจริง
ก็คือความจริงมันเป็นยังไง ก็ประคองให้มันเป็นไปตามนั้น
ส่วนมากจะหลงตรงนี้ !!!!
คือบางทีความเป็นมันเป็นอย่างนี้
ก็ประคองจิตให้มันเห็นตามนี้
ถ้าไปปรับ ไปดัดแปลง ไปกลับกลอก มันก็ไม่เห็นความจริงสักที
อาการดัดแปลง ถ้าทำถูกมันก็เป็นสมถะ
ก็ทำได้ตามสมควร ไม่ใช่ทำตลอด
ถ้าทำตลอด มันก็ไม่เห็นความจริง
ขี้เกียจบ้าง ก็ขยันดูความขี้เกียจ
ขยันบ้าง ก็ขยันดูความขยัน
ความเพียรที่เป็นสัมมัปปธาน ไม่ได้ต้องการเอาดี
เป็นความเพียรที่ต้องการพ้นทุกข์
เป็นความเพียรที่ให้เกิดปัญญา ก้าวหน้าไปในธรรม
เช่น มันขี้เกียจก็มาดูให้เห็นว่าความขี้เกียจนี่ก็เป็นธรรมอย่างหนึ่ง
บังคับไม่ได้ มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ
พอหมดขี้เกียจ สักหน่อยมันก็เฉยๆ หรือขยัน
ขยันก็ดูว่ามันขยัน วิธีดูก็เหมือนดูขี้เกียจนั่นแหละ
เพียรให้จิตมันเดินก้าวหน้าไปในธรรม
คำว่าก้าวหน้าไปในธรรมนี่
ไม่ได้แปลว่า เห็นอะไรแล้วมันดับหมด หรือจิตดีขึ้นเรื่อยๆ ฯลฯ
เราไม่ได้ดูให้มันดับนะ เราดูให้มันเห็นความเป็นจริง
ดูให้มันเห็นว่าทุกสิ่งทีเกิดขึ้นมันก็ดับไปนั่นแหละ
แต่จะดับตอนไหนก็ขึ้นกับเหตุ เหตุน้อยก็ดับเร็ว
ความก้าวหน้าไปในธรรม หมายถึง จิตเป็นกลางต่อสภาวะธรรม
สภาวธรรมจะดีหรือไม่ดี จะสุขหรืออะไร ก็เป็นกลาง
เห็นว่าทุกอย่างเป็นธรรมะเท่านั้น จนมันเห็นว่าทุกอย่างเป็นทุกข์ล้วนๆ นั่นแหละจึงปล่อยได้
ไม่ใช่เพียรเอาดี เพียรหนีร้าย
ฉันทัง ชเนติ
ฉันทัง ชเนติ
เบื้องแรกท่านให้สร้างฉันทะก่อน
เป็นกัตตุกัมยตาฉันทะ คือ พอใจที่จะทำเหตุ
ส่วนได้ไม่ได้เป็นอีกเรื่อง
เหมือนฟังธรรม
จะฟังเข้าใจไม่เข้าใจ
ก็สร้างฉันทะที่จะฟัง
ไม่เข้าใจก็ไม่โกรธตัวเอง
เข้าใจแล้วลืมก็ไม่โกรธตัวเอง
ความเพียรถ้าไม่สร้างฉันทะ
เมื่อพอใจแล้วความพยายามก็เป็นไปในทางที่ถูกต้อง
ถ้าไม่พอใจมันจะกลายเป็นทำด้วยตัณหาจะเอาผลไป
เป็นความคิดไปว่า ทำเยอะแล้วจะได้ผลอย่างนั้นอย่างนี้
มันจะเพี้ยนไป
สมมติเดิน
ก็สร้างความพอใจที่จะเดิน
ไม่ใช่เอาความคิดมาใส่ว่าเดินเยอะๆ แล้วจะเป็นยังไง
เบื้องแรกท่านให้สร้างฉันทะก่อน
เป็นกัตตุกัมยตาฉันทะ คือ พอใจที่จะทำเหตุ
ส่วนได้ไม่ได้เป็นอีกเรื่อง
เหมือนฟังธรรม
จะฟังเข้าใจไม่เข้าใจ
ก็สร้างฉันทะที่จะฟัง
ไม่เข้าใจก็ไม่โกรธตัวเอง
เข้าใจแล้วลืมก็ไม่โกรธตัวเอง
ความเพียรถ้าไม่สร้างฉันทะ
เมื่อพอใจแล้วความพยายามก็เป็นไปในทางที่ถูกต้อง
ถ้าไม่พอใจมันจะกลายเป็นทำด้วยตัณหาจะเอาผลไป
เป็นความคิดไปว่า ทำเยอะแล้วจะได้ผลอย่างนั้นอย่างนี้
มันจะเพี้ยนไป
สมมติเดิน
ก็สร้างความพอใจที่จะเดิน
ไม่ใช่เอาความคิดมาใส่ว่าเดินเยอะๆ แล้วจะเป็นยังไง
สัมมัปปธาน
สัมมัปปธาน = สัมมา + ปธาน
ความเพียรชอบ
ชอบ, ถูกต้อง คือพ้นทุกข์ได้ คือละกิเลสได้
ความเพียรที่จะเผากิเลสได้จริง
ต้องเพียรเพ่งลงใจกายในใจนี้
เพียรเจริญกุศล
ส่วนมากเพียรกันไม่จริง
เพียรตอนทุกข์มาก
พอสุขแล้ว สงบแล้วก็เลิกเพียร โอลัลล้าเหมือนเดิม
นั่งสมาธิพอสบายก็แช่อยู่อย่างนั้น
ท่านว่าสุขก็เป็นทุกข์
มันก็ต้องอาศัยการเพียรตามรู้ว่ามันเป็นตามนั้นจริงๆ มันจึงจะละแม้สุขไปได้
ด้วยเห็นว่ามันไม่สามารถเป็นที่พึ่งที่อาศัยได้จริง
ความเพียรชอบ
ชอบ, ถูกต้อง คือพ้นทุกข์ได้ คือละกิเลสได้
ความเพียรที่จะเผากิเลสได้จริง
ต้องเพียรเพ่งลงใจกายในใจนี้
เพียรเจริญกุศล
ส่วนมากเพียรกันไม่จริง
เพียรตอนทุกข์มาก
พอสุขแล้ว สงบแล้วก็เลิกเพียร โอลัลล้าเหมือนเดิม
นั่งสมาธิพอสบายก็แช่อยู่อย่างนั้น
ท่านว่าสุขก็เป็นทุกข์
มันก็ต้องอาศัยการเพียรตามรู้ว่ามันเป็นตามนั้นจริงๆ มันจึงจะละแม้สุขไปได้
ด้วยเห็นว่ามันไม่สามารถเป็นที่พึ่งที่อาศัยได้จริง
วันศุกร์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2561
ความคิดแบบตั้งใจ แบบไม่ตั้งใจ
- ความคิดแบบตั้งใจคิด
- ความคิดแบบไม่ตั้งใจคิด
ความคิดแบบไม่ตั้งใจคิด
แอบมากับความหลง
อันนี้แหละที่หลอกจิตได้
หลงไปปุ๊บก็ปรุงๆๆๆ เยอะขึ้น
หลอกไปเรื่อย
หลอกได้จนทุกข์
อันนี้แหละทำให้เกิดทุกข์
ทุกข์ไปเรื่อย
พวกนี้แหละที่เรียกว่า อโคจร
ฝึกสติสัมปชัญญะ
เพื่อรู้ทันความคิดประเภทที่ 2
สมาทานคือการเลือก
สมาทาน
ลักษณะของจิตที่รู้ว่าทางนี้มันดี ทางนี้มันเบาสบาย
ก็เลือกทางนี้ เลือกที่จะดำเนินทางนี้
คือการเลือก
ไม่ใช่การปฏิเสธ
ลักษณะของจิตที่รู้ว่าทางนี้มันดี ทางนี้มันเบาสบาย
ก็เลือกทางนี้ เลือกที่จะดำเนินทางนี้
คือการเลือก
ไม่ใช่การปฏิเสธ
วิเนยยะ โลเก อภิชฌา โทมนัสสัง
ความพอใจ ไม่พอใจในโลก (คือรูปนาม)
ละได้ด้วยปัญญา
ละได้ด้วยความรู้ทัน
ที่ละคือ ละความยินดียินร้ายในความโกรธ
ไม่ใช่ละความโกรธ
ไม่ใช่ละของดี
ละความยินดีในของดี
ละความพอใจในของดี
ละความยินร้ายในของไม่ดี
ละความพอใจ ไม่พอใจในโลก
ไม่ได้ห้ามมันเกิดขึ้น
แต่ละด้วยการรู้ทัน
เมื่อมีปัญญา - สิ่งเหล่านี้จะแสดงไตรลักษณ์ให้จิตเห็น
ถ้าระลึกได้แต่ไม่มีปัญญา มันก็ไม่แสดงไตรลักษณ์ให้เห็น ก็ไม่เป็นไร ดูไปเรื่อย
พูดง่ายๆ ก็คือ
หัดเอาอคติในใจออกไป
ก็จะได้รู้อะไรตามที่มันเป็น
ไม่ตัดสิน ไม่ดัดแปลง
ไม่รู้จักตนเอง ก็ไปดัดแปลงตัวเอง ดัดแปลงชาวบ้าน
ละได้ด้วยปัญญา
ละได้ด้วยความรู้ทัน
ที่ละคือ ละความยินดียินร้ายในความโกรธ
ไม่ใช่ละความโกรธ
ไม่ใช่ละของดี
ละความยินดีในของดี
ละความพอใจในของดี
ละความยินร้ายในของไม่ดี
ละความพอใจ ไม่พอใจในโลก
ไม่ได้ห้ามมันเกิดขึ้น
แต่ละด้วยการรู้ทัน
เมื่อมีปัญญา - สิ่งเหล่านี้จะแสดงไตรลักษณ์ให้จิตเห็น
ถ้าระลึกได้แต่ไม่มีปัญญา มันก็ไม่แสดงไตรลักษณ์ให้เห็น ก็ไม่เป็นไร ดูไปเรื่อย
พูดง่ายๆ ก็คือ
หัดเอาอคติในใจออกไป
ก็จะได้รู้อะไรตามที่มันเป็น
ไม่ตัดสิน ไม่ดัดแปลง
ไม่รู้จักตนเอง ก็ไปดัดแปลงตัวเอง ดัดแปลงชาวบ้าน
สัมปชาโน สติมา
คือรู้บ้างหลงบ้าง
ถ้ารู้ตลอด ให้รู้ว่ามันหลง 5555
ระลึกลงที่ไหนก็ได้
กายก็ได้ ใจก็ได้
เวลาระลึกแล้ว
ให้มีความรู้สึกตัว คือสัมปชัญญะด้วย
ไม่งั้นระลึกแล้วจะไปแช่อารมณ์
ถ้ารู้ตลอด ให้รู้ว่ามันหลง 5555
ระลึกลงที่ไหนก็ได้
กายก็ได้ ใจก็ได้
เวลาระลึกแล้ว
ให้มีความรู้สึกตัว คือสัมปชัญญะด้วย
ไม่งั้นระลึกแล้วจะไปแช่อารมณ์
ตามดู ไม่มีอะไรเกินนั้น
การเจริญสติปัฏฐาน
คือการตามดู ไม่มีอะไรเกินนั้น
ตามดูไปตามธรรมดา
เมื่อเข้าใจธรรมดา
อยู่กับธรรมดาได้โดยไม่แทรกแซงไม่เปลี่ยนแปลง
นี้แหละคือการถึงธรรม
ปกติชอบคิดว่าต้องทำอะไรสักอย่าง เพื่อให้เกิดอะไรสักอย่าง
ไม่มีอะไรทำเลย รู้สึกยังไงชอบกล นั่งสักบัลลังก์เถิด
ไม่รู้จะทำไร ทำสักหน่อย เดินจงกรมสักลู่เถิด
อันนี้เป็นมิจฉาทิฏฐิจากตัณหา อุปาทานที่เกิดจากตัวเรา
อยากให้ตัวเรามีสุข
อยากให้ตัวเราพ้นทุกข์
อยากให้ตัวเราถึงนิพพาน
คือการตามดู ไม่มีอะไรเกินนั้น
ตามดูไปตามธรรมดา
เมื่อเข้าใจธรรมดา
อยู่กับธรรมดาได้โดยไม่แทรกแซงไม่เปลี่ยนแปลง
นี้แหละคือการถึงธรรม
ปกติชอบคิดว่าต้องทำอะไรสักอย่าง เพื่อให้เกิดอะไรสักอย่าง
ไม่มีอะไรทำเลย รู้สึกยังไงชอบกล นั่งสักบัลลังก์เถิด
ไม่รู้จะทำไร ทำสักหน่อย เดินจงกรมสักลู่เถิด
อันนี้เป็นมิจฉาทิฏฐิจากตัณหา อุปาทานที่เกิดจากตัวเรา
อยากให้ตัวเรามีสุข
อยากให้ตัวเราพ้นทุกข์
อยากให้ตัวเราถึงนิพพาน
วันจันทร์ที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
มายา สาเถยยะ
มายา
หลอกลวง กลบเกลื่อน
ปิดบังความผิดของตนเองไม่ให้มันชัดเจนออกมา
พูดผิดแล้วก็กลบเกลื่อนไปว่า
อย่าไปคิดมากนะพูดไปอย่างนั้น ไม่ได้ตั้งใจ (จริงๆ ตอนทำก็ตั้งใจนั่นแหละ)
ปรารถนาว่า ขอใครอย่าได้รู้ทันเรา
ดำริว่า ขอใครอย่าได้รู้ทันเรา
พูดว่า ขอใครอย่าได้รู้ทันเรา
ขวนขวายด้วยกายว่า ขอใครอย่าได้รู้ทันเรา
ความเจ้าเล่ห์ ความเป็นคนเจ้าเล่ห์
กิริยาที่หลอกให้หลง ความลวง
ความโกง ความกลบเกลื่อน
ความหลีกเลี่ยง ความซ่อน ความซ่อนบัง ความปกปิด
ความปิดบังการกระทำไม่ชัดเจน
การไม่ทำให้แจ้งการปกปิดมิดชิด การกระทำที่ชั่ว
มีลักษณะเช่นว่านี้นี้เรียกว่า มายา
มายาก็จะตรงข้ามกับ ความซื่อตรง สัจจะ
ของไม่ดีก็ว่าไม่ดี
สาเถยยะ
กระด้าง โอ้อวด
เวลามีดีนิดๆ หน่อยๆ
หรือได้นู่นได้นี่มาก็อวด
การประกาศสิ่งที่ตนมี ใส่ไข่เข้าไปอีก
ยกตน โชว์ตนให้เป็นที่ประจักษ์ ที่ปรากฏ
การมีอะไรดีๆ แล้วเอามาอวด
เรียกว่าเป็นความกระด้าง
การเอาดีมาโชว์ก็อาจเป็นการทำร้ายคนอื่นได้ถ้าคนอื่นไม่มี
จึงเรียกเป็นความกระด้าง
เป็นผู้โอ้อวด เป็นผู้โอ้อวดจัด
ความโอ้อวด กิริยาที่โอ้อวด
ภาวะที่โอ้อวด
ความกระด้างการพูดเป็นเหลี่ยมคูภาวะที่กระด้างในบุคคลนั้น
นี้เรียกว่า สาเถยยะ
หลอกลวง กลบเกลื่อน
ปิดบังความผิดของตนเองไม่ให้มันชัดเจนออกมา
พูดผิดแล้วก็กลบเกลื่อนไปว่า
อย่าไปคิดมากนะพูดไปอย่างนั้น ไม่ได้ตั้งใจ (จริงๆ ตอนทำก็ตั้งใจนั่นแหละ)
ปรารถนาว่า ขอใครอย่าได้รู้ทันเรา
ดำริว่า ขอใครอย่าได้รู้ทันเรา
พูดว่า ขอใครอย่าได้รู้ทันเรา
ขวนขวายด้วยกายว่า ขอใครอย่าได้รู้ทันเรา
ความเจ้าเล่ห์ ความเป็นคนเจ้าเล่ห์
กิริยาที่หลอกให้หลง ความลวง
ความโกง ความกลบเกลื่อน
ความหลีกเลี่ยง ความซ่อน ความซ่อนบัง ความปกปิด
ความปิดบังการกระทำไม่ชัดเจน
การไม่ทำให้แจ้งการปกปิดมิดชิด การกระทำที่ชั่ว
มีลักษณะเช่นว่านี้นี้เรียกว่า มายา
มายาก็จะตรงข้ามกับ ความซื่อตรง สัจจะ
ของไม่ดีก็ว่าไม่ดี
สาเถยยะ
กระด้าง โอ้อวด
เวลามีดีนิดๆ หน่อยๆ
หรือได้นู่นได้นี่มาก็อวด
การประกาศสิ่งที่ตนมี ใส่ไข่เข้าไปอีก
ยกตน โชว์ตนให้เป็นที่ประจักษ์ ที่ปรากฏ
การมีอะไรดีๆ แล้วเอามาอวด
เรียกว่าเป็นความกระด้าง
การเอาดีมาโชว์ก็อาจเป็นการทำร้ายคนอื่นได้ถ้าคนอื่นไม่มี
จึงเรียกเป็นความกระด้าง
เป็นผู้โอ้อวด เป็นผู้โอ้อวดจัด
ความโอ้อวด กิริยาที่โอ้อวด
ภาวะที่โอ้อวด
ความกระด้างการพูดเป็นเหลี่ยมคูภาวะที่กระด้างในบุคคลนั้น
นี้เรียกว่า สาเถยยะ
วันอาทิตย์ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
วันพุธที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
อิสสา มัจฉริยะ
อิสสา
เป็นกิเลสฐานเดียวกับสักกายทิฏฐิ
ถ้าไม่มีตนจะไปอิจฉาเขาทำไม
เขาได้ดีไปอิจฉาเขา
เป็นกิเลสกลุ่มที่พระโสดาบันละได้
อิสสา
ความไม่ชอบเวลาคนอื่นได้ลาภสักการะ ได้คำสรรเสริญ
หรือได้อะไรที่เขาควรจะได้
ความจริงทุกคนก็ได้ในสิ่งที่เขาควรจะได้
เขาทำเหตุมา
เราดันไม่ชอบ
ที่ถูกคือเขาได้ดี ก็ควรจะดีใจด้วย
ไม่ใช่ จะไปมีอะไร๊ ของพ่อแม่มันให้มาทั้งนั้น (อันนี้มันเลวมาก)
ความต่างของมักขะ VS อิสสา
คนอื่นทำความดีเราไม่เห็น เป็นมักขะ (ลบหลู่ในเหตุ - ทำงี้ก็งั้นๆ แหละ)
คนอื่นอื่นได้ผลความดี เราไม่ชอบ เป็นอิสสา (ไม่ชอบในผลที่เขาได้รับ)
เห็นคนทำความดี ก็ให้อนุโมทนา (ไม่ใช่เฉย หรือลบคุณเขา)
เห็นคนได้ผลดี ก็มุฑิตา (ไม่ใช่เฉย หรืออิจฉาเขา)
มัจฉริยะ
หวงแหน รักษา ไม่ให้ไปจากตัวเอง
ยื้อยุดกันไว้
รักของตัวเองก็ไม่ว่า (อันนี้ตัณหาธรรมดา)
แต่หวงกันรักษาไม่ให้มันไปจากเรา ต้องอยู่กับเราเท่านั้น
กีดกันคนอื่นไม่ให้มายุ่งเกี่ยว
ไม่ให้ไปในทางที่เราไม่ชอบใจ (อันนี้มัจฉริยะ)
คู่ตรงข้ามคือ มุฑิตา
ดีใจกับเขาที่เขาได้รับผล
ดีใจด้วยที่เขาที่เขาได้ความดีนั้น ความดีก็จะติดตัวเขาไปเรื่อยๆ
หรือเขาทำชั่ว
กรุณาเขาที่ได้เหตุชั่ว
คิดช่วยเหลือ ช่วยไม่ได้ก็อุเบกขา
คนละส่วนกัน
จะให้หมดมัจฉริยะ
ฝึกจาคะ ฝึกความพร้อมจะให้ มีฝ่ามืออันล้างไว้แล้ว
จาคะไม่ใช่การให้ แต่คือความพร้อมจะให้ตามความเหมาะสม
ความต่างของโลภ และตระหนี่
ตระหนี่นี่ดูคล้ายโลภะ แต่จริงๆ เป็นตระกูลโทสะ
โลภะ เหนียวหนืด ยืดดดด ติด แต่ไม่หวง ก็แค่ชอบสิ่งที่ตนมี แต่ไม่มีลักษณะกีดกัน
ตระหนี่นี่ เข้าขั้นกีดกันคนอื่นเลย ปกปิดสมบัติที่มี หวงแหนไม่ให้คนอื่่นยุ่งเลย
มีลักษณะที่ทำให้ใจแคบเข้า จนทำให้กลายเป็น "ส่วนบุคคล"
ใจกว้างเป็นกุศล เป็นความฉลาด
ใจแคบนี่ไม่ได้ประโยชน์อะไรเลย
เป็นกิเลสฐานเดียวกับสักกายทิฏฐิ
ถ้าไม่มีตนจะไปอิจฉาเขาทำไม
เขาได้ดีไปอิจฉาเขา
เป็นกิเลสกลุ่มที่พระโสดาบันละได้
อิสสา
ความไม่ชอบเวลาคนอื่นได้ลาภสักการะ ได้คำสรรเสริญ
หรือได้อะไรที่เขาควรจะได้
ความจริงทุกคนก็ได้ในสิ่งที่เขาควรจะได้
เขาทำเหตุมา
เราดันไม่ชอบ
ที่ถูกคือเขาได้ดี ก็ควรจะดีใจด้วย
ไม่ใช่ จะไปมีอะไร๊ ของพ่อแม่มันให้มาทั้งนั้น (อันนี้มันเลวมาก)
ความต่างของมักขะ VS อิสสา
คนอื่นทำความดีเราไม่เห็น เป็นมักขะ (ลบหลู่ในเหตุ - ทำงี้ก็งั้นๆ แหละ)
คนอื่นอื่นได้ผลความดี เราไม่ชอบ เป็นอิสสา (ไม่ชอบในผลที่เขาได้รับ)
เห็นคนทำความดี ก็ให้อนุโมทนา (ไม่ใช่เฉย หรือลบคุณเขา)
เห็นคนได้ผลดี ก็มุฑิตา (ไม่ใช่เฉย หรืออิจฉาเขา)
มัจฉริยะ
หวงแหน รักษา ไม่ให้ไปจากตัวเอง
ยื้อยุดกันไว้
รักของตัวเองก็ไม่ว่า (อันนี้ตัณหาธรรมดา)
แต่หวงกันรักษาไม่ให้มันไปจากเรา ต้องอยู่กับเราเท่านั้น
กีดกันคนอื่นไม่ให้มายุ่งเกี่ยว
ไม่ให้ไปในทางที่เราไม่ชอบใจ (อันนี้มัจฉริยะ)
คู่ตรงข้ามคือ มุฑิตา
ดีใจกับเขาที่เขาได้รับผล
ดีใจด้วยที่เขาที่เขาได้ความดีนั้น ความดีก็จะติดตัวเขาไปเรื่อยๆ
หรือเขาทำชั่ว
กรุณาเขาที่ได้เหตุชั่ว
คิดช่วยเหลือ ช่วยไม่ได้ก็อุเบกขา
คนละส่วนกัน
จะให้หมดมัจฉริยะ
ฝึกจาคะ ฝึกความพร้อมจะให้ มีฝ่ามืออันล้างไว้แล้ว
จาคะไม่ใช่การให้ แต่คือความพร้อมจะให้ตามความเหมาะสม
ความต่างของโลภ และตระหนี่
ตระหนี่นี่ดูคล้ายโลภะ แต่จริงๆ เป็นตระกูลโทสะ
โลภะ เหนียวหนืด ยืดดดด ติด แต่ไม่หวง ก็แค่ชอบสิ่งที่ตนมี แต่ไม่มีลักษณะกีดกัน
ตระหนี่นี่ เข้าขั้นกีดกันคนอื่นเลย ปกปิดสมบัติที่มี หวงแหนไม่ให้คนอื่่นยุ่งเลย
มีลักษณะที่ทำให้ใจแคบเข้า จนทำให้กลายเป็น "ส่วนบุคคล"
ใจกว้างเป็นกุศล เป็นความฉลาด
ใจแคบนี่ไม่ได้ประโยชน์อะไรเลย
มักโข ปลาโส
มีลักษณะไปเกี่ยวข้องกับคุณความดี ความเก่งของคนอื่น
แต่ไปเกี่ยวแบบไม่ฉลาด ไปเกี่ยวด้วยกิเลส
มักโข (ลบหลู่คุณท่าน)
ลบหลู่คุณความดีเขา ออกไปทำนองไม่ชอบใจ ไม่พอใจ
ทำไม่ให้ปรากฏ
พูดให้น้อย ตัดควงามดีคนอื่นให้ดูลดความสำคัญลง ด้อยค่าลง
แทนที่จะยกย่องก็พูดทำนอง งั้นๆ แหละ ใครๆ ก็ทำได้
เขาคิดจะทำดี คิดจะทำทาน
ก็ควรจะยกย่อง อนุโมทนา
ใครทำก็ดีทั้งนั้น
คนที่เราไม่ชอบไปนั่งสมาธิ
จะมีอะไร๊ นั่งนั่นน่ะ ทำเป็นนั่งจะได้อะไร
มันก็ธรรมดา
ความดีย่อมเป็นความดี
จะเล็กจะน้อยก็เป็นความดี
จะลบความดีไม่ได้
ท่านให้เห็นความดีว่าเป็นความดี
ให้ดีใจที่เห็นผู้อื่นทำดี เขาย่อมมีความสุข
ปลาโส (ตีเสมอ)
คนนี้ก็ไม่ได้ดีไปกว่าเราเท่าไรหรอก
เอาคุณที่ดีของเขาน่ะมาเทียบกับตน ว่าไม่ต่างอะไรกับตนหรอก
จริงๆ ไม่ต้องมาพูดเรื่องตัวเองก็ได้
หยิบความดีคนอื่น แล้วหยิบตัวเองไปตีเสมอ
คนนั้นเข้าวัดแต่เด็กเลยนะ
ฉันก็เหมือนกัน
เอาอายุมาตีเสมอก็ยังได้
เอาความดีคนอื่นยกมาเป็นของตัวเอง
ต้องการให้ตัวเองเด่น
บัณฑิตเวลาพูดเขาพูดความดีของคุณอื่น
คนพาลพูดแต่ความดีของตัวเอง
แต่ไปเกี่ยวแบบไม่ฉลาด ไปเกี่ยวด้วยกิเลส
มักโข (ลบหลู่คุณท่าน)
ลบหลู่คุณความดีเขา ออกไปทำนองไม่ชอบใจ ไม่พอใจ
ทำไม่ให้ปรากฏ
พูดให้น้อย ตัดควงามดีคนอื่นให้ดูลดความสำคัญลง ด้อยค่าลง
แทนที่จะยกย่องก็พูดทำนอง งั้นๆ แหละ ใครๆ ก็ทำได้
เขาคิดจะทำดี คิดจะทำทาน
ก็ควรจะยกย่อง อนุโมทนา
ใครทำก็ดีทั้งนั้น
คนที่เราไม่ชอบไปนั่งสมาธิ
จะมีอะไร๊ นั่งนั่นน่ะ ทำเป็นนั่งจะได้อะไร
มันก็ธรรมดา
ความดีย่อมเป็นความดี
จะเล็กจะน้อยก็เป็นความดี
จะลบความดีไม่ได้
ท่านให้เห็นความดีว่าเป็นความดี
ให้ดีใจที่เห็นผู้อื่นทำดี เขาย่อมมีความสุข
ปลาโส (ตีเสมอ)
คนนี้ก็ไม่ได้ดีไปกว่าเราเท่าไรหรอก
เอาคุณที่ดีของเขาน่ะมาเทียบกับตน ว่าไม่ต่างอะไรกับตนหรอก
จริงๆ ไม่ต้องมาพูดเรื่องตัวเองก็ได้
หยิบความดีคนอื่น แล้วหยิบตัวเองไปตีเสมอ
คนนั้นเข้าวัดแต่เด็กเลยนะ
ฉันก็เหมือนกัน
เอาอายุมาตีเสมอก็ยังได้
เอาความดีคนอื่นยกมาเป็นของตัวเอง
ต้องการให้ตัวเองเด่น
บัณฑิตเวลาพูดเขาพูดความดีของคุณอื่น
คนพาลพูดแต่ความดีของตัวเอง
วันจันทร์ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
ความคิดที่ไม่มีกิเลส
ความคิดที่ไม่มีกิเลส
มีนะไม่ใช่ไม่มี
ถ้าคิดถูกต้อง เรียก โยนิโสมนสิการ
แต่ปกติต้องคิดอยู่บนฐานที่มีสติและสมาธิดี
ความคิดมันเป็นฝ่ายวิปัสสนา
วิปัสสนามันเป็นฝ่ายฟุ้งซ่าน
ถ้าคิดมากจิตจะฟุ้ง แม้เรื่องดีจิตก็ฟุ้ง
เพราะฉะนั้นต้องคิดเรื่องดี
"แบบพอดีๆ"
พอดีแล้วก็ทำสมาธิ
ทำสมาธิแล้วก็คิดดีให้พอดี
พอดีแล้วก็ทำสมาธิ
สลับกันไป ก็เป็นเครือ่งเสริมปัญญา เสริมโพชฌงค์
มีนะไม่ใช่ไม่มี
ถ้าคิดถูกต้อง เรียก โยนิโสมนสิการ
แต่ปกติต้องคิดอยู่บนฐานที่มีสติและสมาธิดี
ความคิดมันเป็นฝ่ายวิปัสสนา
วิปัสสนามันเป็นฝ่ายฟุ้งซ่าน
ถ้าคิดมากจิตจะฟุ้ง แม้เรื่องดีจิตก็ฟุ้ง
เพราะฉะนั้นต้องคิดเรื่องดี
"แบบพอดีๆ"
พอดีแล้วก็ทำสมาธิ
ทำสมาธิแล้วก็คิดดีให้พอดี
พอดีแล้วก็ทำสมาธิ
สลับกันไป ก็เป็นเครือ่งเสริมปัญญา เสริมโพชฌงค์
อมรวิตักกะ
มร = ตาย
มร = คงที่
ความตรึกเพื่อให้ตนเองอยู่รอด
ไปสวด ไปนอนโลง
ไหว้นู่นไหว้นี่จะประสบสุขโชคดี
ทำให้ตัวเองสะดวกสบายด้วยการไปทำอะไรประหลาดๆ
ปล่อยเต่าให้อายุยืน
ฟุ้งไปเรื่อย ไม่ตายตัว เพื่อให้ตัวรอด
มร = คงที่
ความตรึกเพื่อให้ตนเองอยู่รอด
ไปสวด ไปนอนโลง
ไหว้นู่นไหว้นี่จะประสบสุขโชคดี
ทำให้ตัวเองสะดวกสบายด้วยการไปทำอะไรประหลาดๆ
ปล่อยเต่าให้อายุยืน
ฟุ้งไปเรื่อย ไม่ตายตัว เพื่อให้ตัวรอด
ความคิดอาศัยเรือน
ความคิดอาศัยเรือน (เคหสิต)
อาศํยเรื่องเรือน อาศัยเรื่องบ้านจึงเกิดขึ้น
ความคิดมันเกิดอยู่แล้ว
แต่จะอาศัยอะไรเกิดเท่านั้นเอง
ถ้าอาศัยธรรมะเกิดก็ดี เป็นกุศล
เรือน ก็คือการมีถิ่นฐานครอบครอง
ความจริงก็คือเป็นที่อาศัยชั่วคราว
แต่คำว่าเรือน สำหรับฆราวาส หรือผู้ที่มีกามสัญญาจะรู้สึกว่ามันเป็น
บ้านของเรา ถิ่นของเรา ญาติพี่น้องของเรา
ความคิดอาศัยเรือนจะทำให้จิตฟุ้งซ่านไม่เป็นสมาธิ
การทำสมาธิความจริงไม่ยาก
แค่เอาความคิดอาศัยเรือนออก
พุทโธ จึงเป็นแค่เอาความคิดเรื่องเพื่อนฝูงญาติพี่น้องออก
กรรมฐานก็เอาไว้ตัดความคิด
ตัดความคิดออกก็เป็นสมาธิได้ง่าย
ความคิดอาศัยเรือน
ดำริอาศัยสถานที่
กินนี่อร่อย มาจากที่ไหนนะ
สิ่งนี้ท่านได้แต่ใดมา
ที่นั่นที่นี่สบาย สวย น่าไป ว้าวๆๆ เฮๆๆ
ความคิดอาศัยธรรมะ
ที่ไหนก็เหมือนกันแหละ
อาศํยเรื่องเรือน อาศัยเรื่องบ้านจึงเกิดขึ้น
ความคิดมันเกิดอยู่แล้ว
แต่จะอาศัยอะไรเกิดเท่านั้นเอง
ถ้าอาศัยธรรมะเกิดก็ดี เป็นกุศล
เรือน ก็คือการมีถิ่นฐานครอบครอง
ความจริงก็คือเป็นที่อาศัยชั่วคราว
แต่คำว่าเรือน สำหรับฆราวาส หรือผู้ที่มีกามสัญญาจะรู้สึกว่ามันเป็น
บ้านของเรา ถิ่นของเรา ญาติพี่น้องของเรา
ความคิดอาศัยเรือนจะทำให้จิตฟุ้งซ่านไม่เป็นสมาธิ
การทำสมาธิความจริงไม่ยาก
แค่เอาความคิดอาศัยเรือนออก
พุทโธ จึงเป็นแค่เอาความคิดเรื่องเพื่อนฝูงญาติพี่น้องออก
กรรมฐานก็เอาไว้ตัดความคิด
ตัดความคิดออกก็เป็นสมาธิได้ง่าย
ความคิดอาศัยเรือน
ดำริอาศัยสถานที่
กินนี่อร่อย มาจากที่ไหนนะ
สิ่งนี้ท่านได้แต่ใดมา
ที่นั่นที่นี่สบาย สวย น่าไป ว้าวๆๆ เฮๆๆ
ความคิดอาศัยธรรมะ
ที่ไหนก็เหมือนกันแหละ
สัญญาไกลใกล้กิเลส
ปปัญจสัญญานำมาสู่วิตก
พวกเราโดยมากมีกามสัญญา
คือไปกำหนดไว้ว่า นี่ของเรา
นี่จะทำให้เรามีความสุข
เช่น แม่ของเรา ลูกของเรา
นี่เป็นกามสัญญา
กามสัญญานี่
เมื่อไปคิดปุ๊บจะเกิดความยินดี
และเกิดกิเลส
ฉะนั้น ถ้าสัญญายังไม่เปลี่ยน
คือยังเห็นเป็นพ่อของเรา แม่ของเราอยู่
จะคิดต้องมีสติคุม ถ้าไม่มีสติก็จะเป็นกิเลสเลย
แต่ถ้าในบางคน
เปลี่ยนจากกามสัญญาเป็นรูปสัญญาแล้ว
ไม่เห็นว่าอันนี้เป็นของเราแล้ว
แต่ยังเห็นว่า นี่เป็นรูป เป็นปฐวีธาตุ
แบบนี้ึคิดได้ ไม่เกิดกิเลส
แต่ใกล้ต่อกิเลส
ถ้าจะให้ไกลต่อกิเลส
ต้องแปลงรูปสัญญา เป็นอรูปสัญญา
ถึงจะอย่างไร สัญญาก็จะเกิดกับจิตทุกดวงเสมอไป
กามสัญญา เป็นสัญญาที่ใกล้กับกิเลสที่สุด
แต่ไม่ใช่กิเลส เพราะสัญญาเป็นวิบาก
เห็นปุ๊บ ได้ยินปุ๊บ สัญญาก็เกิดเลย
พวกเราโดยมากมีกามสัญญา
คือไปกำหนดไว้ว่า นี่ของเรา
นี่จะทำให้เรามีความสุข
เช่น แม่ของเรา ลูกของเรา
นี่เป็นกามสัญญา
กามสัญญานี่
เมื่อไปคิดปุ๊บจะเกิดความยินดี
และเกิดกิเลส
ฉะนั้น ถ้าสัญญายังไม่เปลี่ยน
คือยังเห็นเป็นพ่อของเรา แม่ของเราอยู่
จะคิดต้องมีสติคุม ถ้าไม่มีสติก็จะเป็นกิเลสเลย
แต่ถ้าในบางคน
เปลี่ยนจากกามสัญญาเป็นรูปสัญญาแล้ว
ไม่เห็นว่าอันนี้เป็นของเราแล้ว
แต่ยังเห็นว่า นี่เป็นรูป เป็นปฐวีธาตุ
แบบนี้ึคิดได้ ไม่เกิดกิเลส
แต่ใกล้ต่อกิเลส
ถ้าจะให้ไกลต่อกิเลส
ต้องแปลงรูปสัญญา เป็นอรูปสัญญา
ถึงจะอย่างไร สัญญาก็จะเกิดกับจิตทุกดวงเสมอไป
กามสัญญา เป็นสัญญาที่ใกล้กับกิเลสที่สุด
แต่ไม่ใช่กิเลส เพราะสัญญาเป็นวิบาก
เห็นปุ๊บ ได้ยินปุ๊บ สัญญาก็เกิดเลย
ไม่ติดหรอกค่ะ
ไม่ติดหรอกค่ะ
ดิฉันไม่ติดหรอกอ่านหนังสือหมอดูพวกนี้
ดิฉันไม่ติด
แต่จิตมันติด
กรรมมันเกิดกับจิต
เหมือนที่มีสัญญา ก
ทั้งชาติมันก็เห็น ก เป็น กอไก่
วิตกเกิดจากสัญญา
สัญญาซับซ้อน วิตกก็ซับซ้อน
ดิฉันไม่ติดหรอกอ่านหนังสือหมอดูพวกนี้
ดิฉันไม่ติด
แต่จิตมันติด
กรรมมันเกิดกับจิต
เหมือนที่มีสัญญา ก
ทั้งชาติมันก็เห็น ก เป็น กอไก่
วิตกเกิดจากสัญญา
สัญญาซับซ้อน วิตกก็ซับซ้อน
ปกิณกะ
- ภวาสวะ เป็นไปในทางอำนาจ ปฏิฆะง่าย
- การพิจารณาความจริงภายนอก รู้ไม่เที่ยงเช่นกัน แต่กิเลสไม่ลด บางความจริงพิจารณาแล้วละกิเลสได้ บางความจริงละกิเลสไม่ได้
- ไม่พิจารณา ไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชม ไม่ซ่านไป
- แม้จะหลงผิดและยึดว่าของเรา แต่สิ่งนั้นก็ไม่ใช่ของเราอยู่ดี
- ความรู้สึกว่ามีตัวผู้คิด ก็เป็นอาการคิดอย่างหนึ่ง
- มีกายก็มีที่ให้เรื่องร้ายๆ มาลง เช่น โดนด่า
วันศุกร์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
ความเห็น vs ความสำคัญ
รูปนั้นเป็นรูป
ส่วนความสำคัญว่าเราเป็นรูปนั้นเป็นมานะ
ส่วน "เรา" จริงๆ ไม่มี
ถ้าจะเห็นอัสมิมานะ
จะต้องเลิกทิฏฐิก่อนจึงจะเห็นชัด
เพราะว่าพอสำคัญว่าเรามี ก็นึกว่าเรามีจริงๆ ซะด้วย
สักกายทิฏฐิ เห็นรูปโดยความเป็นตัวตน (เป็นความเห็น)
ทิฏฐิ เป็นความเห็น
มานะ เป็นความสำคัญ (จะออกแนวสัญญา มันเกิดจากสัญญาอดีต)
ทิฏฐินี่เป็นความเห็น
ความเห็นเหมือนกับมองเห็นคน
เห็นคนจริงๆ มีคนชื่อ A จริงๆ
แต่สำคัญ นี่ก็คือเห็นรูปเป็นรูปนั่นแหละ
แต่บางโอกาสก็สำคัญว่า อ่อ A เป็นคนอย่างนี้
แต่ในความรู้เนี่ย ก็รู้ว่า ไม่มี A จริงๆ
ความสำคัญนี่มันโผล่มาได้เป็นบางครั้ง
หรือ ตัณหา VS ทิฏฐิ
ตัณหาคือ อยากให้ตนกินอยู่สบาย
แต่ทิฏฐิคือ "มีตน" ผู้กินอยู่สบาย
ส่วนความสำคัญว่าเราเป็นรูปนั้นเป็นมานะ
ส่วน "เรา" จริงๆ ไม่มี
ถ้าจะเห็นอัสมิมานะ
จะต้องเลิกทิฏฐิก่อนจึงจะเห็นชัด
เพราะว่าพอสำคัญว่าเรามี ก็นึกว่าเรามีจริงๆ ซะด้วย
สักกายทิฏฐิ เห็นรูปโดยความเป็นตัวตน (เป็นความเห็น)
ทิฏฐิ เป็นความเห็น
มานะ เป็นความสำคัญ (จะออกแนวสัญญา มันเกิดจากสัญญาอดีต)
ทิฏฐินี่เป็นความเห็น
ความเห็นเหมือนกับมองเห็นคน
เห็นคนจริงๆ มีคนชื่อ A จริงๆ
แต่สำคัญ นี่ก็คือเห็นรูปเป็นรูปนั่นแหละ
แต่บางโอกาสก็สำคัญว่า อ่อ A เป็นคนอย่างนี้
แต่ในความรู้เนี่ย ก็รู้ว่า ไม่มี A จริงๆ
ความสำคัญนี่มันโผล่มาได้เป็นบางครั้ง
หรือ ตัณหา VS ทิฏฐิ
ตัณหาคือ อยากให้ตนกินอยู่สบาย
แต่ทิฏฐิคือ "มีตน" ผู้กินอยู่สบาย
วันพฤหัสบดีที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
กรรมใหญ่
กรรมไม่ได้ดูที่งานใหญ่งานเล็ก
กระทบคนหมู่มาก หมู่น้อย
ดูที่เจตนาเท่านั้น
งานใหญ่ที่สุดคือการละกิเลส
ใครบวช ยิ่งบวชไม่สึกนี่ใหญ่สุดละ...
กระทบคนหมู่มาก หมู่น้อย
ดูที่เจตนาเท่านั้น
งานใหญ่ที่สุดคือการละกิเลส
ใครบวช ยิ่งบวชไม่สึกนี่ใหญ่สุดละ...
ความถือตัว และตัวที่ถูกถือ
มีตัวที่ถูกถือ อันนี้เป็นทิฏฐิ
ความถือตัว คือ มานะ
พระอริยเจ้ามีความอยากให้ตัวเองได้รับความสำคัญ
แต่ก็รู้ลึกลงไปอีกว่า อ้าว ตัวมันไม่มีจริงๆ นี่ อ้าวโง่แท้
ก็พยายามเพื่อจะไม่หลงต่อไป
เรียกว่า เห็นกิเลสเป็นกิเลส
เห็นสมุทัยเป็นสมุทัย เห็นสมุทัยเป็นของควรละ
แต่ปุถุชน อยากให้ตนสำคัญ อยากให้โดดเด่น (อันนี้มานะ)
และเชื่อว่ามีตนจริงๆ ซะด้วย (มีทิฏฐิ)
จึงเสริมกันไป ออกอ่าวไทยไปเลย
ความถือตัว คือ มานะ
พระอริยเจ้ามีความอยากให้ตัวเองได้รับความสำคัญ
แต่ก็รู้ลึกลงไปอีกว่า อ้าว ตัวมันไม่มีจริงๆ นี่ อ้าวโง่แท้
ก็พยายามเพื่อจะไม่หลงต่อไป
เรียกว่า เห็นกิเลสเป็นกิเลส
เห็นสมุทัยเป็นสมุทัย เห็นสมุทัยเป็นของควรละ
แต่ปุถุชน อยากให้ตนสำคัญ อยากให้โดดเด่น (อันนี้มานะ)
และเชื่อว่ามีตนจริงๆ ซะด้วย (มีทิฏฐิ)
จึงเสริมกันไป ออกอ่าวไทยไปเลย
กิเลสออกหน้า กิเลสลับหลัง
กิเลสออกหน้า
มักจะกล่าวถึงตัณหาและทิฏฐิ
กิเลสลับหลัง
มักจะกล่าวด้วยอวิชชา และภวตัณหา
มักจะกล่าวถึงตัณหาและทิฏฐิ
กิเลสลับหลัง
มักจะกล่าวด้วยอวิชชา และภวตัณหา
วันจันทร์ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
ตัณหาวิจริต
เมื่อมีความคิดว่าเรามี เราเป็น ก็เกิดความนึกไปตามอำนาจตัณหา ว่า
เรามีอยู่ เราเป็นอยู่
เราเป็นอย่างนี้
เราเป็นอย่างนั้น
เราเป็นอย่างอื่น
เราเป็นผู้เที่ยง
เราเป็นผู้ไม่เที่ยง
เราพึงมีอยู่ พึงเป็นอยู่
เราพึงมีอย่างนี้
เราพึงมีอย่างนั้น
เราพึงมีอย่างอื่น
ขอให้เรามีอยู่ เราเป็นอยู่
ขอให้เรามีอย่างนี้
ขอให้เรามีอย่างนั้น
ขอให้เรามีอย่างอื่น
เราจักมีอยู่ จักเป็นอยู่
เราจักมีอย่างนี้
เราจักมีอย่างนั้น
เราจักมีอย่างอื่น
---
ภายนอก...ความนึกทั้ง 18 ด้วยสิ่งนี้
เรามีอยู่ เราเป็นอยู่
เราเป็นอย่างนี้
เราเป็นอย่างนั้น
เราเป็นอย่างอื่น
เราเป็นผู้เที่ยง
เราเป็นผู้ไม่เที่ยง
เราพึงมีอยู่ พึงเป็นอยู่
เราพึงมีอย่างนี้
เราพึงมีอย่างนั้น
เราพึงมีอย่างอื่น
ขอให้เรามีอยู่ เราเป็นอยู่
ขอให้เรามีอย่างนี้
ขอให้เรามีอย่างนั้น
ขอให้เรามีอย่างอื่น
เราจักมีอยู่ จักเป็นอยู่
เราจักมีอย่างนี้
เราจักมีอย่างนั้น
เราจักมีอย่างอื่น
---
ภายนอก...ความนึกทั้ง 18 ด้วยสิ่งนี้
ปฏิภาณ
ความสามารถในการนำองค์ความรู้ต่างๆ มาจัดสรร
และตอบให้ตรงกับคำถาม
เรียกว่ามีความสามารถในการจัดการกับความรู้
คนรู้เยอะมีมาก
แต่คนมีปฏิภาณมีไม่มากนัก
ปฏิภาณก็เป็นเหตุให้เกิดความถือตัวได้เช่นกัน
และตอบให้ตรงกับคำถาม
เรียกว่ามีความสามารถในการจัดการกับความรู้
คนรู้เยอะมีมาก
แต่คนมีปฏิภาณมีไม่มากนัก
ปฏิภาณก็เป็นเหตุให้เกิดความถือตัวได้เช่นกัน
อัสมิมานะ
เมื่อสำคัญว่าเรามี
ก็อยากให้เราที่สำคัญว่ามีนี้สำคัญ
เราจริงๆ ไม่มี
แต่ความสำคัญว่าเรามีมันมี (คืออาการมานะ)
ก็อยากให้เราที่สำคัญว่ามีนี้สำคัญ
เราจริงๆ ไม่มี
แต่ความสำคัญว่าเรามีมันมี (คืออาการมานะ)
วันอาทิตย์ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
ุบุคคลบัญญัติ
สมยวิมุตฺโต = ผู้ได้สมาบัติ 8 และหลุดพ้นด้วย
อสมยวิมุตฺโต = ผู้ไม่ได้สมาบัติ 8 และได้หลุดพ้น
กุปฺปธมฺโม, ปริหานธมฺโม = ผู้มีธรรม (คือสมาบัติ 8) ที่เสื่อมได้
อกุปฺปธมฺโม, อปริหานธมฺโม = ผู้มีธรรม (คือสมาบัติ 8) อันไม่เสื่อม
เจตนาภพฺโพ, อนุรักฺขนาภพฺโพ
ภพฺพ = เหมาะสม สมควร
คือ ผู้ที่ได้สมาบัติ 8 แต่ไม่คล่องแคล่ว
ถ้าตามใส่ใจก็จะไม่เสื่อม ถ้าตามรักษาก็จะไม่เสื่อม
ปุถุชฺชโน
ปุถุ = หนา, เยอะ
ผู้ยังละสังโยชน์ 3 ไม่ได้ และไม่ปฏิบัติเพื่อไม่ละสภาวะเหล่านั้น
ผู้ที่ยังละสังโยชน์ 3 ไม่ได้
แต่กำลังปฏิบัติเพื่อที่จะละสังโยชน์ 3 ก็ไม่ได้เรียกปุถุชน
ฉะนั้น ปุถุชน ไม่ได้หมายถึง ผู้ที่ยังละสังโยชน์ 3 ไม่ได้เท่านั้น
ถ้าจะใช้คำนั้นจะใช้คำว่า อนริโย
(อนริโย ก็จะแบ่งเป็น ผู้ที่เป็นปุถุชน และไม่เป็นปุถุชน)
โคตฺรภู
ผู้ถึงโคตร ผู้ข้ามโคตร ครอบงำโคตรปุถุชนได้ ก้าวล่วงญาณของปุถุชน
โคตร = เหล่ากอ พืื้นฐาน นามสกุล เชื้อสาย
หมายถึง บุคคลก่อนจะเป็นพระอริยะ
ภยูปรโต
ผู้ที่งดเว้นจากบาปเพราะความกลัว = ปุถุชนผู้มีศีล และพระเสขะ 7 จำพวก
อุปรโต = งดเว้น
ภย = กลัว
อภยูปรโต
ผู้ที่งดเว้นจากการทำชั่วโดยไม่ต้องใช้ความกลัว
คือพระอรหันต์
ภพฺพาคมโน
ภพฺพ = เหมาะสม สมควร เป็นไปได้
คมโน = ไปสู่การตรัสรู้
ผู้ควร ผู้สามารถที่จะตรัสรู้ได้
อภพฺพาคมโน
ผู้ที่เป็นไปไม่ได้ที่จะรู้ธรรม
มีเครื่องกั้น 7 อย่าง ได้แก่
สมสีสี
สม = เสมอ
สีส = สิ่งที่เป็นประธาน เป็นหลัก ศีรษะ
มีสิ่งที่เป็นประธานจบพร้อมกัน สิ้นพร้อมกัน
เป็นชื่อของพระอรหันต์ สิ้นอาสวะพร้อมสิ้นชีวิต
สิ่งที่เป็นหัวได้แก่ อวิชชา และชีวิตสีส (ชีวิตเป็นหัว)
พร้อมกัน หมายถึง ในวาระเดียวกันต่อเนื่องกัน
มรรค (ทำลายอวิชชา) - ปัจจเวก - จุติ (ทำลายชีวิตินทรีย์) - จบ
ฐิตกปฺปี
ผู้ทำกัปป์ให้ดำรงอยู่
ผู้ที่ยังอยู่กัปป์จะไม่ถูกทำลาย
บุคคลนี้เป็นผู้ปฏิบัติเพื่อทำให้แจ้งโสดาปัตติผล และเป็นเวลาที่กัปถูกไฟไหม้ กัปไม่พึงถูกไฟไหม้ตราบ เท่าที่บุคคลนี้ยังไม่ทำให้แจ้งโสดาปัตติผล บุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยมรรคแม้ทั้งหมด (แม้ผู้ที่ปฏิบัติเพื่อเป็นสกทาคามี, อนาคามี, อรหันต์ ก็เช่นกัน)
ความหมายคือ ถ้ายังมีคนปฏิบัติเพื่อบรรลุอยู่ เมื่อศาสนายังอยู่กัปป์จะไม่มีวันพินาศไป
อริโย = พระอริยะ 8 จำพวก
อนริโย = ที่ไม่ใช่พระอริยะ แบ่งเป็น เป็นปุถุชน และไม่เป็นปุถุชน
เสกฺโข = พวกเข้าโรงเรียน (มรรค 4 ผล 3)
อเสกฺโข = พวกเรียนจบแล้ว
เนวเสกฺขนาเสกฺโข = ทั้งไม่ได้เข้ารร.และก็ไม่ได้จบหลักสูตร
เตวิชฺโช
จุตูปปาตญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อาสวักขยญาณ
ชื่อพระโสดาบัน
สตฺตกฺขตฺตุปรโม = ผู้มี 7 ชาติเป็นอย่างยิ่ง
ท่องเที่ยวสลับกันระหว่างเทวโลกและมนุษยโลก
ไม่ได้เกิดบนเทวโลก หรือมนุษย์โลกอย่างเดียว
โกลํโกโล = จากตระกูลสู่ตระกูล
ท่องเที่ยวไป 2-3 ตระกูล อันนี้ไปที่เดียวได้ไม่ต้องสลับ
เทพก็เทพตลอด มนุษย์ก็มนุษย์ตลอด
เอกพีช = 1 พืช
เกิดในมนุษยโลกอีก 1 ชาติ
อันนี้เกิดในมนุษย์เท่านั้นบรรลุเลย
สกทาคามี = มาสู่โลกนี้ หมายถึง กามภูมินี้ อีกครั้งหนึ่ง
สกึ = 1
ไม่ได้จำกัดว่าต้องเป็นมนุษยืเท่านั้น
อนาคามี = ไม่มาสู่โลกนี้ คือ ไม่มาสู่กามภูมินี้อีก
น + อาคามี
อนฺตราปรินิพฺพายี
ไปเกิดในสุทธาวาส ชั้นใดชั้นนึง - อวิหา, อตัปปา, สุทัสสา, สุทัสสี, อกนิษฐ
(ในบาลีก็ยังใช้คำว่าสัคคะ - สวรรค์ คือไม่ได้แยกเทพกับพรหมออกมาชัดเจน)
อนฺตรา = ในระหว่าง, ในลำดับต่อมา
เกิดปุ๊บบรรลุเลย หรืออายุไม่ถึงครึ่งก็บรรลุ (ช่วงต้นถึงท่อนกลาง)
(อายุแต่ละชั้นก็ไม่เท่ากัน)
อุปหจฺจปรินิพฺพายี
ไปเกิดในสุทธาวาส ชั้นใดชั้นนึง
บรรลุตอนใกล้ตาย (ช่วงท่อนกลางถึงบั้นปลายชีวิต)
อสงฺขารปรินิพฺพายี
อสงฺขาร = ไม่ต้องขวนขวาย ไม่ต้องพยายาม
สสงฺขารปรินิพฺพายี
สสงฺขาร = ต้องใช้ความพยายามมาก
อุทฺธํโสโตอกนิฏฺฐคามี
เกิดครบทั้ง 5 ชั้น (4 ประเภทขั้นต้นจะเกิดชั้นใดชั้นหนึ่ง)
อุทฺธํ = เบื้องบน
โสโต = กระแส
อสมยวิมุตฺโต = ผู้ไม่ได้สมาบัติ 8 และได้หลุดพ้น
กุปฺปธมฺโม, ปริหานธมฺโม = ผู้มีธรรม (คือสมาบัติ 8) ที่เสื่อมได้
อกุปฺปธมฺโม, อปริหานธมฺโม = ผู้มีธรรม (คือสมาบัติ 8) อันไม่เสื่อม
เจตนาภพฺโพ, อนุรักฺขนาภพฺโพ
ภพฺพ = เหมาะสม สมควร
คือ ผู้ที่ได้สมาบัติ 8 แต่ไม่คล่องแคล่ว
ถ้าตามใส่ใจก็จะไม่เสื่อม ถ้าตามรักษาก็จะไม่เสื่อม
ปุถุชฺชโน
ปุถุ = หนา, เยอะ
ผู้ยังละสังโยชน์ 3 ไม่ได้ และไม่ปฏิบัติเพื่อไม่ละสภาวะเหล่านั้น
ผู้ที่ยังละสังโยชน์ 3 ไม่ได้
แต่กำลังปฏิบัติเพื่อที่จะละสังโยชน์ 3 ก็ไม่ได้เรียกปุถุชน
ฉะนั้น ปุถุชน ไม่ได้หมายถึง ผู้ที่ยังละสังโยชน์ 3 ไม่ได้เท่านั้น
ถ้าจะใช้คำนั้นจะใช้คำว่า อนริโย
(อนริโย ก็จะแบ่งเป็น ผู้ที่เป็นปุถุชน และไม่เป็นปุถุชน)
โคตฺรภู
ผู้ถึงโคตร ผู้ข้ามโคตร ครอบงำโคตรปุถุชนได้ ก้าวล่วงญาณของปุถุชน
โคตร = เหล่ากอ พืื้นฐาน นามสกุล เชื้อสาย
หมายถึง บุคคลก่อนจะเป็นพระอริยะ
ภยูปรโต
ผู้ที่งดเว้นจากบาปเพราะความกลัว = ปุถุชนผู้มีศีล และพระเสขะ 7 จำพวก
อุปรโต = งดเว้น
ภย = กลัว
อภยูปรโต
ผู้ที่งดเว้นจากการทำชั่วโดยไม่ต้องใช้ความกลัว
คือพระอรหันต์
ภพฺพาคมโน
ภพฺพ = เหมาะสม สมควร เป็นไปได้
คมโน = ไปสู่การตรัสรู้
ผู้ควร ผู้สามารถที่จะตรัสรู้ได้
อภพฺพาคมโน
ผู้ที่เป็นไปไม่ได้ที่จะรู้ธรรม
มีเครื่องกั้น 7 อย่าง ได้แก่
- กรรม - อนันตริยกรรม 5
- กิเลส - นิยตมิจฉาทิฏฐิ (นัตถิก~, อกิริย~, อเหตุก~) ความเห็นผิดที่ดิ่งมั่นคงไม่ยอมเปลี่ยน ไม่ยอมเชื่อใครแล้ว ฉะนั้น จะเห็นผิดก็อย่ามั่นเกินไป เอาให้อ่อนน้อมไว้ ให้แบบยังพอแก้ไขได้
พวกดิ่งมักจะเป็นอาจารย์ พวกเจ้าลัทธิ พูดบ่อย พูดจนตัวเองเชื่อไปด้วย - วิบาก - เกิดในภพภูมิไม่ดี หรือเป็นคนแต่บ้าใบ้บอดหนวก
- ไม่มีศรัทธา
- ไม่มีฉันทะ ไม่มีความรัก ความพอใจในคุณความดี ไม่รักดีใฝ่ดี
- ไม่มีปัญญา โดยเฉพาะ สชาติปัญญา ฟังไม่ออกโกหกมันไม่ดียังไง แยกแยะไม่ได้
- โง่เขลา ไม่มีอุปนิสัยมาในทางศีล สมาธิ ปัญญาเลย องค์มรรคไม่มีเลย
นิยโต
ผู้เที่ยงในทางไม่บรรลุ - นิยตมิจฉาทิฏฐิ
ผู้เที่ยงในทางจะบรรลุ - อริยบุคคล 8 จำพวก
ที่เหลืออเป็นผู้ไม่เที่ยง อนิยโต
ปฏิปนฺนโก = ผู้กำลังปฏิบัติ
หมายถึง ผู้ที่อยู่ในมรรค ผู้ที่มรรคเกิดรวม
ผเลฏฺฐิโต = ผู้ตั้งอยู่ในผล
สมสีสี
สม = เสมอ
สีส = สิ่งที่เป็นประธาน เป็นหลัก ศีรษะ
มีสิ่งที่เป็นประธานจบพร้อมกัน สิ้นพร้อมกัน
เป็นชื่อของพระอรหันต์ สิ้นอาสวะพร้อมสิ้นชีวิต
สิ่งที่เป็นหัวได้แก่ อวิชชา และชีวิตสีส (ชีวิตเป็นหัว)
พร้อมกัน หมายถึง ในวาระเดียวกันต่อเนื่องกัน
มรรค (ทำลายอวิชชา) - ปัจจเวก - จุติ (ทำลายชีวิตินทรีย์) - จบ
ฐิตกปฺปี
ผู้ทำกัปป์ให้ดำรงอยู่
ผู้ที่ยังอยู่กัปป์จะไม่ถูกทำลาย
บุคคลนี้เป็นผู้ปฏิบัติเพื่อทำให้แจ้งโสดาปัตติผล และเป็นเวลาที่กัปถูกไฟไหม้ กัปไม่พึงถูกไฟไหม้ตราบ เท่าที่บุคคลนี้ยังไม่ทำให้แจ้งโสดาปัตติผล บุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยมรรคแม้ทั้งหมด (แม้ผู้ที่ปฏิบัติเพื่อเป็นสกทาคามี, อนาคามี, อรหันต์ ก็เช่นกัน)
ความหมายคือ ถ้ายังมีคนปฏิบัติเพื่อบรรลุอยู่ เมื่อศาสนายังอยู่กัปป์จะไม่มีวันพินาศไป
อริโย = พระอริยะ 8 จำพวก
อนริโย = ที่ไม่ใช่พระอริยะ แบ่งเป็น เป็นปุถุชน และไม่เป็นปุถุชน
เสกฺโข = พวกเข้าโรงเรียน (มรรค 4 ผล 3)
อเสกฺโข = พวกเรียนจบแล้ว
เนวเสกฺขนาเสกฺโข = ทั้งไม่ได้เข้ารร.และก็ไม่ได้จบหลักสูตร
เตวิชฺโช
จุตูปปาตญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อาสวักขยญาณ
ชื่อพระโสดาบัน
สตฺตกฺขตฺตุปรโม = ผู้มี 7 ชาติเป็นอย่างยิ่ง
ท่องเที่ยวสลับกันระหว่างเทวโลกและมนุษยโลก
ไม่ได้เกิดบนเทวโลก หรือมนุษย์โลกอย่างเดียว
โกลํโกโล = จากตระกูลสู่ตระกูล
ท่องเที่ยวไป 2-3 ตระกูล อันนี้ไปที่เดียวได้ไม่ต้องสลับ
เทพก็เทพตลอด มนุษย์ก็มนุษย์ตลอด
เอกพีช = 1 พืช
เกิดในมนุษยโลกอีก 1 ชาติ
อันนี้เกิดในมนุษย์เท่านั้นบรรลุเลย
สกทาคามี = มาสู่โลกนี้ หมายถึง กามภูมินี้ อีกครั้งหนึ่ง
สกึ = 1
ไม่ได้จำกัดว่าต้องเป็นมนุษยืเท่านั้น
อนาคามี = ไม่มาสู่โลกนี้ คือ ไม่มาสู่กามภูมินี้อีก
น + อาคามี
อนฺตราปรินิพฺพายี
ไปเกิดในสุทธาวาส ชั้นใดชั้นนึง - อวิหา, อตัปปา, สุทัสสา, สุทัสสี, อกนิษฐ
(ในบาลีก็ยังใช้คำว่าสัคคะ - สวรรค์ คือไม่ได้แยกเทพกับพรหมออกมาชัดเจน)
อนฺตรา = ในระหว่าง, ในลำดับต่อมา
เกิดปุ๊บบรรลุเลย หรืออายุไม่ถึงครึ่งก็บรรลุ (ช่วงต้นถึงท่อนกลาง)
(อายุแต่ละชั้นก็ไม่เท่ากัน)
อุปหจฺจปรินิพฺพายี
ไปเกิดในสุทธาวาส ชั้นใดชั้นนึง
บรรลุตอนใกล้ตาย (ช่วงท่อนกลางถึงบั้นปลายชีวิต)
อสงฺขารปรินิพฺพายี
อสงฺขาร = ไม่ต้องขวนขวาย ไม่ต้องพยายาม
สสงฺขารปรินิพฺพายี
สสงฺขาร = ต้องใช้ความพยายามมาก
อุทฺธํโสโตอกนิฏฺฐคามี
เกิดครบทั้ง 5 ชั้น (4 ประเภทขั้นต้นจะเกิดชั้นใดชั้นหนึ่ง)
อุทฺธํ = เบื้องบน
โสโต = กระแส
สัมมัตตนิยาม
นิยามที่ถูกต้อง
หมายถึง อริยมรรคมีองค์ 8
นิยาม = กฏเกณฑ์ ข้อกำหนด
สัมมัตต = ที่ถูกต้อง
ถ้ามี 8 มารวมกัน ถูกแน่นอน
ถ้าไม่รวม จะถูกขนาดไหน ก็ยังไม่ถูก
หมายถึง อริยมรรคมีองค์ 8
นิยาม = กฏเกณฑ์ ข้อกำหนด
สัมมัตต = ที่ถูกต้อง
ถ้ามี 8 มารวมกัน ถูกแน่นอน
ถ้าไม่รวม จะถูกขนาดไหน ก็ยังไม่ถูก
ภัย 4
- ทุคติภัย
- วัฏฏภัย - กลัวภัยในวัฏฏ อะไรที่ทำให้นมนานในวัฏฏะไม่กล้าทำ
- กิเลสภัย - กลัวกิเลสเกิด ระมัดระวัง
- อุปวาทภัย - กลัวการติเตียน ทั้งติเตียนตน ติเตียนผู้อื่น
ปุถุชน (ผู้มีศีล) กลัวทุกภัย
ไม่มีศีลก็ไม่กลัว
เป็นภยูปรโต
พระเสขะ กลัวข้อ 2-4 เป็นภยูปรโต
กลัวอยู่นาน
พูดมาก อยู่นาน
โม้เยอะ อยู่นาน
กินอร่อย อยู่นาน
พระอรหันต์ งดเว้นบาปแต่ไม่ใช่เพราะกลัวอะไร
เป็นอภยูปรโต
ปรามาส
ปรามาส เป็นชื่อของทิฏฐิ
สีลัพพตปรามาส
ไปจับยึดศีลและวัตรมาปฏิบัติเพื่อตน เพื่อของตน
ทำแบบนี้แล้วตนจะดีขึ้น
ทำแบบนี้แล้วตนจะได้นั่นนี่
พวกจับผิด
ก็คือไปจับเอาว่า
"เรามีศีล"
"ศีลของเรา"
"ถ้าเราทำอย่างนี้เราจะบริสุทธิ์ขึ้น"
วัตถุประสงค์ของศีลและวัตร เพื่อฝึกสติสัมปชัญญะ
ให้มีพื้นฐานที่ดีเพื่อไปทำสมาธิ และปัญญาต่อไป
สีลัพพตปรามาส
ไปจับยึดศีลและวัตรมาปฏิบัติเพื่อตน เพื่อของตน
ทำแบบนี้แล้วตนจะดีขึ้น
ทำแบบนี้แล้วตนจะได้นั่นนี่
พวกจับผิด
ก็คือไปจับเอาว่า
"เรามีศีล"
"ศีลของเรา"
"ถ้าเราทำอย่างนี้เราจะบริสุทธิ์ขึ้น"
วัตถุประสงค์ของศีลและวัตร เพื่อฝึกสติสัมปชัญญะ
ให้มีพื้นฐานที่ดีเพื่อไปทำสมาธิ และปัญญาต่อไป
วันเสาร์ที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
วิธีสร้างสุขแบบโง่ๆ
สร้างทุกข์ขึ้นมาก่อน
แล้วก็ไปหาทางดับทุกข์
รู้สึกสุขแล้ว....
อยากเย็น
หาไฟมาเผาตัวเองก่อน
ดับไฟ อาบน้ำ มีความสุข
เพื่อที่จะรู้สึกว่าตัวเองไม่มีเรื่อง
ก็หาเรื่องมาก่อน
แก้ปัญหา
รู้สึกหมดเรื่อง
วนอยู่อย่างนี้
จะทำไปทำอะไรเนี่ย
ไม่เห็นว่าตอนไม่มีกิเลส ไม่มีความอยากอะไรมันก็อยู่ได้
นั่นเป็นอาการอย่างนึงของนิพพาน
ไม่มีตัณหา
ลองมาสังเกตอาการอย่างนี้ดู
เกิดบ่อยนะ
แล้วก็ไปหาทางดับทุกข์
รู้สึกสุขแล้ว....
อยากเย็น
หาไฟมาเผาตัวเองก่อน
ดับไฟ อาบน้ำ มีความสุข
เพื่อที่จะรู้สึกว่าตัวเองไม่มีเรื่อง
ก็หาเรื่องมาก่อน
แก้ปัญหา
รู้สึกหมดเรื่อง
วนอยู่อย่างนี้
จะทำไปทำอะไรเนี่ย
ไม่เห็นว่าตอนไม่มีกิเลส ไม่มีความอยากอะไรมันก็อยู่ได้
นั่นเป็นอาการอย่างนึงของนิพพาน
ไม่มีตัณหา
ลองมาสังเกตอาการอย่างนี้ดู
เกิดบ่อยนะ
อนุโลม โคตรภู มรรค
เอียงไปทางดับ
ไม่เอียงมาในทางเกิด
ในความรู้สึกไม่ได้มีเรามาโผล่ในความคิดความรู้สึก
เอียงไปนิพพาน
ไม่เอียงไปสังขาร
ตอนเอียงเรียก อนุโลม
ตอนล้ม ล้มค่อยๆ ล้ม เรียกค่อยล้ม
ล้มพอดี เรียก มรรค
ไม่เอียงมาในทางเกิด
ในความรู้สึกไม่ได้มีเรามาโผล่ในความคิดความรู้สึก
เอียงไปนิพพาน
ไม่เอียงไปสังขาร
ตอนเอียงเรียก อนุโลม
ตอนล้ม ล้มค่อยๆ ล้ม เรียกค่อยล้ม
ล้มพอดี เรียก มรรค
สมาธิพอสมควร
เมื่อมีสมาธิพอสมควร
จะเห็นกิเลสแต่ไม่ถูกครอบงำ
เห็นรัก เห็นโกรธ เห็นง่วง
แต่ไม่โดนครอบงำ
ยังถูกครอบงำเพราะกำลังจิตน้อย
ยังเห็นผิดเพราะปัญญายังน้อย
จึงต้องฝึกทั้งสมาธิ ทั้งปัญญา
จะเห็นกิเลสแต่ไม่ถูกครอบงำ
เห็นรัก เห็นโกรธ เห็นง่วง
แต่ไม่โดนครอบงำ
ยังถูกครอบงำเพราะกำลังจิตน้อย
ยังเห็นผิดเพราะปัญญายังน้อย
จึงต้องฝึกทั้งสมาธิ ทั้งปัญญา
จักขุง อุทะปาทิ
จักขุง ชื่อว่าดวงตา เพราะเห็น
ญาณัง ชื่อว่า ญาณ เพราะรู้ตามเป็นจริงไม่ผิดเพี้ยน
ปัญญา ชื่อว่า ปัญญา เพราะรู้โดยรอบ รู้ทั่วถึง
วิชชา ชื่อว่า วิชชา เพราะแทงตลอด
อาโลโก ชื่อว่า อาโลโก เพราะสว่างไสว
ญาณัง ชื่อว่า ญาณ เพราะรู้ตามเป็นจริงไม่ผิดเพี้ยน
ปัญญา ชื่อว่า ปัญญา เพราะรู้โดยรอบ รู้ทั่วถึง
วิชชา ชื่อว่า วิชชา เพราะแทงตลอด
อาโลโก ชื่อว่า อาโลโก เพราะสว่างไสว
วันศุกร์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
ขันธ์ VS กิเลส
ขันธ์
ความธรรมดาที่ได้สะสมมาเป็นอย่างนั้น
เป็นไปตามความเคยชิน
กิเลส
มาเป็นครั้งๆ แล้วก็มาจับยึดขันธ์ว่าเป็นตัวเราของเรา
จะทำอะไร ก็ใช้ขันธ์ไปทำ
ทำเสร็จก็จากไป
คนรับเคราะห์คือ ขันธ์
ขันธ์ เวลามันติด
มันก็คิดเอนเอียงไปทางนั้น
อย่างเคยอยู่ที่นี่แล้วสบายใจ ก็จะมาที่นี่
ขันธ์มันคุ้นเคย
เหมือนพระอรหันต์ โดยทั่วไปก็มักกลับไปถิ่นที่ท่านเคยอยู่
พวกเรื่องอากาศ เรื่องอาหาร
เรื่องพื้นฐานการกินอยู่ ที่นอน กิริยาท่าทาง
ทำไปนานๆ จนติด ไม่ได้มีกิเลสก็ทำ
ไม่ได้ทำเหมือนขาดอะไรไปบางอย่าง
จะเป็นขันธ์
หรือติดบุหรี่
ตอนแรกๆ จะอยากโก้ อยากเท่ อันนี้เป็นกิเลส
แต่ทำไปนานๆ ก็ไม่ได้อยากจะเท่อะไร แต่ติดแล้ว
มันจะอยู่ไม่ได้ มันต้องมีธาตุตัวนี้ใส่เข้าไป
หรือกินกาแฟ
กินใหม่ๆ ก็อร่อย
ไปๆ มาๆ จริงๆ จะไม่กินก็ได้ แต่ก็เหมือนขาดอะไรไปบางอย่าง
หรือบางคนพูดแต่เรื่องเมตตาอยู่เสมอ
บ่อยๆ ก็จะติด
ใจก็จะเอียงไปทางนี้ ความคิดความนึกก็จะเอียงไปทางนี้
ความคิดความนึกอันนี้ไม่ได้เป็นความต้องการ แต่เป็นขันธ์ไปแล้ว
หรือต้องดูข่าวตอนเช้า
ตัวติดจริงๆ
ที่ติดจรงๆ เป็นขันธ์ คือ เป็นผล เป็นอุปาทานขันธ์
แต่ตัวที่อยาก ตัวที่ต้องการเพื่อสนองความอยากนี่ เป็นตัวกิเลส
ซึ่งเกิดไม่นาน แป๊บเดียวก็ดับ
เมื่อกิเลสยังมีอยู่
และเมื่อขันธ์เป็นอย่างนี้
กิเลสก็ไปยึดครองขันธ์ว่า "นี่เป็นเราติด" "เป็นการติดของเรา"
ทั้งที่จริงไม่ต้องมีตัวเรามันก็ติดแบบนั้นเหมือนกัน
เอาหมามาเลี้ยงตอนแรกเพราะชอบ
ต่อมาแม้ไม่มีความรู้สึกอย่างนี้ ก็ยังเลี้ยงอยู่
ไปกอด ไปจูงมันเล่น
เป็นนิสัยอันใหม่ เป็นขันธ์ไป กิเลสมันไปตั้งนานแล้ว
ทีนี้นิสัยบางอันมันเสียเวลา
แม้จะไม่เป็นกิเลส
แต่เป็นเหตุให้เกิดกิเลส
ดังนั้น ขันธ์ จะมีทั้งที่แบบเป็นเหตุให้เกิดกิเลส และทั้งที่เป็นวิบากเฉยๆ
จึงต้องมาดูว่าการติดแบบไหนที่มันเป็นเหตุให้เสียเวลาเยอะ
บางอย่างเป็นโทษ
หรือเป็นเหตุให้กิเลสก็ต้องลดละ หรือให้มันไปติดอีกอย่าง เช่น ไปติดฟังธรรม
"ถึงแม้จะไม่ใช่กิเลส ก็ต้องลดเช่นกัน"
ขันธ์มันทำงานเองของมันได้
กิเลสมันก็จะมายึดครองว่า "เราเป็นผู้..." นั่นนี่อะไรต่างๆ
อันที่่จริงมันเป็นการเป็นไปของกองทุกข์ล้วนๆ เลย
แม้กระทั่ง การไปยึดขันธ์ว่าเป็นเรา ที่ว่าเป็นกิเลสเนี่ย
ก็เป็นความเคยชินที่เกิดขึ้น
เนื่องจากไม่มีตัวตัดความเคยชินมา (สตินั่นเอง)
เขาถึงให้ฝึกสติบ่อยๆ ให้คอยตัดความเคยชิน
เอาจริงๆ แม้กิเลสก็เป็นความเคยชิน
คิดไปบางทีก็คิดไม่ออก มีความซํบซ้อนอยู่เหมือนกัน
สรุปเป็นว่า
อันไหนเสียเวลา เกิดกิเลสเยอะ อย่าไปทำ
เราก็มาฝึกสติ สมาธิ ปัญญา
บ่อยเข้าก็แยกออกอันไหนเป็นกิเลส อันไหนเป็นขันธ์
ก็ปล่อยวางขันธ์ ให้ขันธ์มันทำงานเอง
เหมือนปวดเข้าห้องน้ำ ไม่ต้องมีกิเลสก็เข้าได้
โดยส่วนใหญ่แล้วขันธ์ทำงานเองด้วยซ้ำ
หายใจเข้าออก ขันธ์ก็ทำงานเอง
ย่อยอาหารที่กินเข้าไป ขันธ์ก็ทำงานเอง
สนใจเรียนธรรมะ ขันธ์มันก็ทำงานเองของมันได้
แต่กิเลสดันมารวบรัด
ตัณหาโผล่มาเอาหน้าว่า "เราทำ"
เช่น เราขยันเรียน (จริงๆ ขยันเรียนโดยไม่ต้องมีเราก็ได้นะ)
จริงๆ ตัวขยันเรียนจริงๆ น่ะเป็นขันธ์
ส่วนตัวที่มารวบ มาถือขันธ์ว่าเป็นเรา เป็นของเรา อันนี้คือ...กิเลส
ข้อสังเกต
โดยส่วนใหญ่ เป็นขันธ์ที่ทำงาน
ส่วนกิเลส โผล่มาจับขันธ์ว่าเป็นเรา เป็นของเรา
ลองถ่ายวีดีโอตัวเอง
กิริยาแสดงออกมาเอง มันจะเยอะกว่าที่ เรานึกว่าจะทำ
ไอ้เรานึกเนี่ย เป็นการไปถือครองว่า "เราทำ" จริงๆ ขันธ์มันทำเอง
ดังนั้นที่จะให้เอาออกเนี่ยคือ ไอ้ยึดว่าเราทำ วางลง ให้ขันธ์มันทำ
อุปาทานขันธ์ทั้ง 5 เป็นตัวทุกข์
ตัวสติมันก็จะไปรับรู้
เออ มันคิดอย่างนี้ มันก็ไปทำอย่างนี้ๆ
โดยไม่ต้องมีเราไปทำเลยสักกะคนนึง
ดูไปก็จะเห็นว่า อ่อ ตอนกิเลสเป็นตอนนึง ตอนขันธ์เป็นอีกตอนนึง
กิเลสคือตรงที่ยึดขันธ์ว่าเป็นตัวเรานี่แหละ
เห็นผิดว่าขันธ์เป็นตัวเรานี้คือ สักกายทิฏฐิ
พอยึดว่าเป็นตัวเราแล้วก็อยากให้เราอยู่รอดปลอดภัย อันนี้ก็คือตัณหา
แล้วก็ไปทำให้เราเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ ก็เป็น อุปาทาน
ระวังให้ดี
ความเคยชิน ไม่เท่ากับ กิเลส
พระอรหันต์อาจจะพูดเสียงดังโดยที่ไม่ได้โกรธ
ฉะนั้น อย่าไปว่าใคร...ดีที่สุด
ว่าเจอพระอริยะ ก็ตัว who ตัว it
-473-
ความธรรมดาที่ได้สะสมมาเป็นอย่างนั้น
เป็นไปตามความเคยชิน
กิเลส
มาเป็นครั้งๆ แล้วก็มาจับยึดขันธ์ว่าเป็นตัวเราของเรา
จะทำอะไร ก็ใช้ขันธ์ไปทำ
ทำเสร็จก็จากไป
คนรับเคราะห์คือ ขันธ์
ขันธ์ เวลามันติด
มันก็คิดเอนเอียงไปทางนั้น
อย่างเคยอยู่ที่นี่แล้วสบายใจ ก็จะมาที่นี่
ขันธ์มันคุ้นเคย
เหมือนพระอรหันต์ โดยทั่วไปก็มักกลับไปถิ่นที่ท่านเคยอยู่
พวกเรื่องอากาศ เรื่องอาหาร
เรื่องพื้นฐานการกินอยู่ ที่นอน กิริยาท่าทาง
ทำไปนานๆ จนติด ไม่ได้มีกิเลสก็ทำ
ไม่ได้ทำเหมือนขาดอะไรไปบางอย่าง
จะเป็นขันธ์
หรือติดบุหรี่
ตอนแรกๆ จะอยากโก้ อยากเท่ อันนี้เป็นกิเลส
แต่ทำไปนานๆ ก็ไม่ได้อยากจะเท่อะไร แต่ติดแล้ว
มันจะอยู่ไม่ได้ มันต้องมีธาตุตัวนี้ใส่เข้าไป
หรือกินกาแฟ
กินใหม่ๆ ก็อร่อย
ไปๆ มาๆ จริงๆ จะไม่กินก็ได้ แต่ก็เหมือนขาดอะไรไปบางอย่าง
หรือบางคนพูดแต่เรื่องเมตตาอยู่เสมอ
บ่อยๆ ก็จะติด
ใจก็จะเอียงไปทางนี้ ความคิดความนึกก็จะเอียงไปทางนี้
ความคิดความนึกอันนี้ไม่ได้เป็นความต้องการ แต่เป็นขันธ์ไปแล้ว
หรือต้องดูข่าวตอนเช้า
ตัวติดจริงๆ
ที่ติดจรงๆ เป็นขันธ์ คือ เป็นผล เป็นอุปาทานขันธ์
แต่ตัวที่อยาก ตัวที่ต้องการเพื่อสนองความอยากนี่ เป็นตัวกิเลส
ซึ่งเกิดไม่นาน แป๊บเดียวก็ดับ
เมื่อกิเลสยังมีอยู่
และเมื่อขันธ์เป็นอย่างนี้
กิเลสก็ไปยึดครองขันธ์ว่า "นี่เป็นเราติด" "เป็นการติดของเรา"
ทั้งที่จริงไม่ต้องมีตัวเรามันก็ติดแบบนั้นเหมือนกัน
เอาหมามาเลี้ยงตอนแรกเพราะชอบ
ต่อมาแม้ไม่มีความรู้สึกอย่างนี้ ก็ยังเลี้ยงอยู่
ไปกอด ไปจูงมันเล่น
เป็นนิสัยอันใหม่ เป็นขันธ์ไป กิเลสมันไปตั้งนานแล้ว
ทีนี้นิสัยบางอันมันเสียเวลา
แม้จะไม่เป็นกิเลส
แต่เป็นเหตุให้เกิดกิเลส
ดังนั้น ขันธ์ จะมีทั้งที่แบบเป็นเหตุให้เกิดกิเลส และทั้งที่เป็นวิบากเฉยๆ
จึงต้องมาดูว่าการติดแบบไหนที่มันเป็นเหตุให้เสียเวลาเยอะ
บางอย่างเป็นโทษ
หรือเป็นเหตุให้กิเลสก็ต้องลดละ หรือให้มันไปติดอีกอย่าง เช่น ไปติดฟังธรรม
"ถึงแม้จะไม่ใช่กิเลส ก็ต้องลดเช่นกัน"
ขันธ์มันทำงานเองของมันได้
กิเลสมันก็จะมายึดครองว่า "เราเป็นผู้..." นั่นนี่อะไรต่างๆ
อันที่่จริงมันเป็นการเป็นไปของกองทุกข์ล้วนๆ เลย
แม้กระทั่ง การไปยึดขันธ์ว่าเป็นเรา ที่ว่าเป็นกิเลสเนี่ย
ก็เป็นความเคยชินที่เกิดขึ้น
เนื่องจากไม่มีตัวตัดความเคยชินมา (สตินั่นเอง)
เขาถึงให้ฝึกสติบ่อยๆ ให้คอยตัดความเคยชิน
เอาจริงๆ แม้กิเลสก็เป็นความเคยชิน
คิดไปบางทีก็คิดไม่ออก มีความซํบซ้อนอยู่เหมือนกัน
สรุปเป็นว่า
อันไหนเสียเวลา เกิดกิเลสเยอะ อย่าไปทำ
เราก็มาฝึกสติ สมาธิ ปัญญา
บ่อยเข้าก็แยกออกอันไหนเป็นกิเลส อันไหนเป็นขันธ์
ก็ปล่อยวางขันธ์ ให้ขันธ์มันทำงานเอง
เหมือนปวดเข้าห้องน้ำ ไม่ต้องมีกิเลสก็เข้าได้
โดยส่วนใหญ่แล้วขันธ์ทำงานเองด้วยซ้ำ
หายใจเข้าออก ขันธ์ก็ทำงานเอง
ย่อยอาหารที่กินเข้าไป ขันธ์ก็ทำงานเอง
สนใจเรียนธรรมะ ขันธ์มันก็ทำงานเองของมันได้
แต่กิเลสดันมารวบรัด
ตัณหาโผล่มาเอาหน้าว่า "เราทำ"
เช่น เราขยันเรียน (จริงๆ ขยันเรียนโดยไม่ต้องมีเราก็ได้นะ)
จริงๆ ตัวขยันเรียนจริงๆ น่ะเป็นขันธ์
ส่วนตัวที่มารวบ มาถือขันธ์ว่าเป็นเรา เป็นของเรา อันนี้คือ...กิเลส
ข้อสังเกต
โดยส่วนใหญ่ เป็นขันธ์ที่ทำงาน
ส่วนกิเลส โผล่มาจับขันธ์ว่าเป็นเรา เป็นของเรา
ลองถ่ายวีดีโอตัวเอง
กิริยาแสดงออกมาเอง มันจะเยอะกว่าที่ เรานึกว่าจะทำ
ไอ้เรานึกเนี่ย เป็นการไปถือครองว่า "เราทำ" จริงๆ ขันธ์มันทำเอง
ดังนั้นที่จะให้เอาออกเนี่ยคือ ไอ้ยึดว่าเราทำ วางลง ให้ขันธ์มันทำ
อุปาทานขันธ์ทั้ง 5 เป็นตัวทุกข์
ตัวสติมันก็จะไปรับรู้
เออ มันคิดอย่างนี้ มันก็ไปทำอย่างนี้ๆ
โดยไม่ต้องมีเราไปทำเลยสักกะคนนึง
ดูไปก็จะเห็นว่า อ่อ ตอนกิเลสเป็นตอนนึง ตอนขันธ์เป็นอีกตอนนึง
กิเลสคือตรงที่ยึดขันธ์ว่าเป็นตัวเรานี่แหละ
เห็นผิดว่าขันธ์เป็นตัวเรานี้คือ สักกายทิฏฐิ
พอยึดว่าเป็นตัวเราแล้วก็อยากให้เราอยู่รอดปลอดภัย อันนี้ก็คือตัณหา
แล้วก็ไปทำให้เราเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ ก็เป็น อุปาทาน
ระวังให้ดี
ความเคยชิน ไม่เท่ากับ กิเลส
พระอรหันต์อาจจะพูดเสียงดังโดยที่ไม่ได้โกรธ
ฉะนั้น อย่าไปว่าใคร...ดีที่สุด
ว่าเจอพระอริยะ ก็ตัว who ตัว it
-473-
วันพฤหัสบดีที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
ความจริงบางอย่างพิจารณาแล้วกิเลสไม่ลด
แม้ฉลาด แม้รู้มาก แม้มองความจริงตามจริง
แม้มองเป็นเหตุเป็นผล เป็นเงื่อนไข
แต่มองกว้างๆ มองความเปลี่ยนแปลงของโลก ของจักรวาล ของสังคม ของยุคสมัย
ได้ความรู้มาก แต่กิเลสไม่ลด
ยังเป็นโลกิยสัมมาทิฏฐิ
โลกิยสัมมาทิฏฐิ
ความจริงบางอย่าง พิจารณาแล้วกิเลสลด
ความจริงบางอย่าง พิจารณาแล้วกิเลสไม่ลด
ความจริงที่พิจารณาแล้วกิเลสลดคือพิจารณาแบบอริยสัจ 4
ถ้าจะคิด คิดแบบอริยสัจ 4
ถ้าจะพูด พูดแบบอริยสัจ 4
โยนิโสฯ แบบที่กิเลสลด คือ โยนิโสแบบอริยสัจ 4
โยนิโสฯ เฉพาะอริยสัจ 4
โลกิยฯ มองกว้างๆ เพื่อให้เกิดศรัทธาในปัญญาตรัสรู้เท่านั้นเอง
เมื่อศรัทธาเกิดแล้ว ต่อไปก็จะไม่มองไปทางโลกอีกต่อไป
จนกระทั่งไม่คิดจะช่วยเหลือโลกอะไรอีกต่อไป
จะมองแค่อริยสัจสี่
หลังจากมีศรัทธา
ถ้าต้องการที่จะหมดกิเลส
ให้โยนิโสแค่อริยสัจ 4 ก็พอ
พิจารณาว่า อุปาทานขันธ์ 5 เป็นทุกข์
พิจารณาว่า กิเลส เป็นเหตุให้เกิดทุกข์
จะรู้ละเอียด หรือรู้ย่อๆ
ถ้าละกิเลสได้ เสมอกันด้วยวิมุตติ
เหตุเงื่อนไขอื่นๆ ไม่ใช่อริยสัจ
แม้จะถูก แต่ยาว อยู่กันอีกนาน กิเลสไม่ลด
แม้มองเป็นเหตุเป็นผล เป็นเงื่อนไข
แต่มองกว้างๆ มองความเปลี่ยนแปลงของโลก ของจักรวาล ของสังคม ของยุคสมัย
ได้ความรู้มาก แต่กิเลสไม่ลด
ยังเป็นโลกิยสัมมาทิฏฐิ
โลกิยสัมมาทิฏฐิ
ออกแนวกว้างๆ
ออกแนวโลกๆความจริงบางอย่าง พิจารณาแล้วกิเลสลด
ความจริงบางอย่าง พิจารณาแล้วกิเลสไม่ลด
ความจริงที่พิจารณาแล้วกิเลสลดคือพิจารณาแบบอริยสัจ 4
ถ้าจะคิด คิดแบบอริยสัจ 4
ถ้าจะพูด พูดแบบอริยสัจ 4
โยนิโสฯ แบบที่กิเลสลด คือ โยนิโสแบบอริยสัจ 4
โยนิโสฯ เฉพาะอริยสัจ 4
โลกิยฯ มองกว้างๆ เพื่อให้เกิดศรัทธาในปัญญาตรัสรู้เท่านั้นเอง
เมื่อศรัทธาเกิดแล้ว ต่อไปก็จะไม่มองไปทางโลกอีกต่อไป
จนกระทั่งไม่คิดจะช่วยเหลือโลกอะไรอีกต่อไป
จะมองแค่อริยสัจสี่
หลังจากมีศรัทธา
ถ้าต้องการที่จะหมดกิเลส
ให้โยนิโสแค่อริยสัจ 4 ก็พอ
พิจารณาว่า อุปาทานขันธ์ 5 เป็นทุกข์
พิจารณาว่า กิเลส เป็นเหตุให้เกิดทุกข์
จะรู้ละเอียด หรือรู้ย่อๆ
ถ้าละกิเลสได้ เสมอกันด้วยวิมุตติ
เหตุเงื่อนไขอื่นๆ ไม่ใช่อริยสัจ
แม้จะถูก แต่ยาว อยู่กันอีกนาน กิเลสไม่ลด
วันอังคารที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
สติปัฏฐาน 4 สามแบบ สองนัยยะ
ใช้ปัญญาจากสติปัฏฐานที่ฝึกมา
ไปในทางไหนบ้าง
3 แบบ
แบ่ง 2 นัยยะ
3 แบบ (นัยยะที่ 1)
ภายใน
ภายนอก
ภายในและภายนอก
เกิดบ้าง (นัยยะที่ 2)
ดับบ้าง
ทั้งเกิดทั้งดับบ้าง
การกล่าวนี้ไม่เป็นตามลำดับปฏิบัติ
เป็นเพียงลำดับเทศนาเท่านั้น
แปล เห็นอะไรก่อนก็เห็นอันนั้้นแหละ
ใช้วิธียังไงก็ได้ให้มันลงเอาในใจ
ฝ่ายไม่ดีอย่าให้มันลง ฝ่ายดีเอาให้มันลง
นึกเอา คิดเอา ก็ได้
ดูภายในประจักษ์เอา ก็ได้
ดูภายนอกแล้วน้อมภายใน ก็ได้
ฝ่ายดีนึกแล้วเอาไม่ลง
ก็นึกฝ่ายไม่ดีแทน เอาให้มันลงใจ
เพื่อให้รู้ว่าทั้งเราทั้งคนอื่นเสมอกัน คือไม่เที่ยง
ประเด็นคือ ไม่ยึดทั้งเราและผู้อื่น
ไปในทางไหนบ้าง
3 แบบ
แบ่ง 2 นัยยะ
3 แบบ (นัยยะที่ 1)
ภายใน
ภายนอก
ภายในและภายนอก
เกิดบ้าง (นัยยะที่ 2)
ดับบ้าง
ทั้งเกิดทั้งดับบ้าง
การกล่าวนี้ไม่เป็นตามลำดับปฏิบัติ
เป็นเพียงลำดับเทศนาเท่านั้น
แปล เห็นอะไรก่อนก็เห็นอันนั้้นแหละ
ใช้วิธียังไงก็ได้ให้มันลงเอาในใจ
ฝ่ายไม่ดีอย่าให้มันลง ฝ่ายดีเอาให้มันลง
นึกเอา คิดเอา ก็ได้
ดูภายในประจักษ์เอา ก็ได้
ดูภายนอกแล้วน้อมภายใน ก็ได้
ฝ่ายดีนึกแล้วเอาไม่ลง
ก็นึกฝ่ายไม่ดีแทน เอาให้มันลงใจ
เพื่อให้รู้ว่าทั้งเราทั้งคนอื่นเสมอกัน คือไม่เที่ยง
ประเด็นคือ ไม่ยึดทั้งเราและผู้อื่น
วันเสาร์ที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
ฝ่ายรับ ฝ่ายกระทำ
สังขารนี้เป็นฝ่ายกระทำ เช่นเดียวกับสัญญา
เวลาจำแนกสัญญา ก็จำแนกเป็นสัญญา 6
ส่วนเวทนาเป็นฝ่ายรับ เป็นสุุข/ทุกข์/อทุกขมสุข
พอมีเวทนาแล้วก็เกิดภาคกระทำ
ในหลักปฏิจจฯ จึงไม่ต้องมีทัั้งสัญญา ไม่ต้องมีทั้งเจตนา
เพราะเป็นฝ่ายกระทำเหมือนกัน ก็เอาตัณหามาพูดเลย
ฝ่ายรับ
จะมีอุปกรณ์คือผัสสะ
ฝ่ายรับคือเวทนา
ฝ่ายกระทำ
สัญญา และเจตนา
ถ้าเป็นแบบปฏิจจฯ เพื่อให้เห็นชัด ก็จะแสดงในลักษณะว่าทำตามอำนาจของตัณหา
เวทนาจึงเป็นปัจจัยให้เกิดตัณหาไปเลย
จริงๆ ก็คือมีทั้ง สัญญา เจตนา ตัณหา รวมอยู่ในนี้
(ฝ่ายรับ) เมื่อเวทนาแล้ว
ก็จะเกิดสัญญาที่พิสดารซับซ้อนขึ้นมา ปรุงนู่นนี่นั่นขึ้นมาตามสังขาร
ความคิดซับซ้อนพวกนี้ ก็จะกลายเป็นวิตกวิจารณ์ต่างๆ นานา
จุดต่อนี้จึงพูดตัณหาไปเลย เนื่องจากมีความซับซ้อนหลายประการ
เมื่อเกิดสุขทุกข์ ก็จะมีความคิดที่ซํบซ้อนตามองค์ความรู้ที่เคยได้รับมา
ซึ่งความรู้นั้น เกิดจากการกระทำในอดีตแล้วสั่งสมความรู้เอาไว้
เวลาจำแนกสัญญา ก็จำแนกเป็นสัญญา 6
ส่วนเวทนาเป็นฝ่ายรับ เป็นสุุข/ทุกข์/อทุกขมสุข
พอมีเวทนาแล้วก็เกิดภาคกระทำ
ในหลักปฏิจจฯ จึงไม่ต้องมีทัั้งสัญญา ไม่ต้องมีทั้งเจตนา
เพราะเป็นฝ่ายกระทำเหมือนกัน ก็เอาตัณหามาพูดเลย
ฝ่ายรับ
จะมีอุปกรณ์คือผัสสะ
ฝ่ายรับคือเวทนา
ฝ่ายกระทำ
สัญญา และเจตนา
ถ้าเป็นแบบปฏิจจฯ เพื่อให้เห็นชัด ก็จะแสดงในลักษณะว่าทำตามอำนาจของตัณหา
เวทนาจึงเป็นปัจจัยให้เกิดตัณหาไปเลย
จริงๆ ก็คือมีทั้ง สัญญา เจตนา ตัณหา รวมอยู่ในนี้
(ฝ่ายรับ) เมื่อเวทนาแล้ว
ก็จะเกิดสัญญาที่พิสดารซับซ้อนขึ้นมา ปรุงนู่นนี่นั่นขึ้นมาตามสังขาร
ความคิดซับซ้อนพวกนี้ ก็จะกลายเป็นวิตกวิจารณ์ต่างๆ นานา
จุดต่อนี้จึงพูดตัณหาไปเลย เนื่องจากมีความซับซ้อนหลายประการ
เมื่อเกิดสุขทุกข์ ก็จะมีความคิดที่ซํบซ้อนตามองค์ความรู้ที่เคยได้รับมา
ซึ่งความรู้นั้น เกิดจากการกระทำในอดีตแล้วสั่งสมความรู้เอาไว้
ปฏิฆสัมผัส อธิวจนสัมผัส
ปฏิฆะ แปลว่า การกระทบกัน
มีวัตถุและอารมณ์มากระทบกันจริงๆ
วัตถุคือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย
จักขุวัตถุ โสตวัตถุ ฆานวัตถุ ชิวหาวัตถุ กายวัตถุ
อารมณ์ คือ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส
กระทบกันแล้วเกิดวิญญาณขึ้น
ตามาชนรูป รูปมาชนตาแล้วเกิดการรับรู้
การประชุมของ 3 องค์นี้เรียกว่า ผัสสะ
แต่รูปชนตาแล้วไม่เกิดการรับรู้ก็ได้
ถ้าไม่มีมนสิการ
ผัสสะนี้จะนับเฉพาะ รูป และตา ชนกันแล้วเกิดวิญญาณได้
จะเกิดวิญญาณได้ต้องมีการมนสิการ คือ มีการใส่ใจถึง
ดังนั้นแต่ละคนกระทบแล้วจึงเกิดการรับรู้อารมณ์ที่ต่างกันบ้างตามการใส่ใจ
เช่นว่า มองคนๆ เดียวกัน บางคนมองเสื้อเขา บางคนมองกางเกง
เมื่อมีสัมผัส สัญญาก็เกิด
สัญญาที่เกิดแต่ปฏิฆสัมผัส (ปฏิฆสมฺผสฺสชา สญฺญา)
คือสัมผัสที่เกิดทางปัญจทวาร
เป็นสัญญาหยาบ
----
อธิวจนะ คือ สักว่าเป็นแต่ชื่อ
คือ สักแต่ว่ามาชนกัน เพราะใจก็อยู่ในใจ ไม่ได้มาชนกับอารมณ์จริงๆ
สร้างขึ้นมา เช่น สร้างขึ้นมาว่าเขาด่า เขาก็ไม่ได้มายืนด่าอยู่จริงๆ
เป็นการนึกเอาลอยๆ
เหมือนเขาวิ่งมาชนใจ แต่จริงๆ มีที่ไหน
สัญญาที่เกิดแต่ อธิวจนสัมผัส (คือสัมผัสที่เกิดทางมโนทวาร)
เป็นสัญญาละเอียด
สัญญาที่เกิดแต่ปฏิฆสัมผัส หมายถึงความสัมผัสถูกต้องกันแห่งรูปที่กระทบกันได้เช่นจักขุปสาทกระทบกับรูปารมณ์ เป็นต้น
มีวัตถุและอารมณ์มากระทบกันจริงๆ
วัตถุคือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย
จักขุวัตถุ โสตวัตถุ ฆานวัตถุ ชิวหาวัตถุ กายวัตถุ
อารมณ์ คือ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส
กระทบกันแล้วเกิดวิญญาณขึ้น
ตามาชนรูป รูปมาชนตาแล้วเกิดการรับรู้
การประชุมของ 3 องค์นี้เรียกว่า ผัสสะ
แต่รูปชนตาแล้วไม่เกิดการรับรู้ก็ได้
ถ้าไม่มีมนสิการ
ผัสสะนี้จะนับเฉพาะ รูป และตา ชนกันแล้วเกิดวิญญาณได้
จะเกิดวิญญาณได้ต้องมีการมนสิการ คือ มีการใส่ใจถึง
ดังนั้นแต่ละคนกระทบแล้วจึงเกิดการรับรู้อารมณ์ที่ต่างกันบ้างตามการใส่ใจ
เช่นว่า มองคนๆ เดียวกัน บางคนมองเสื้อเขา บางคนมองกางเกง
เมื่อมีสัมผัส สัญญาก็เกิด
สัญญาที่เกิดแต่ปฏิฆสัมผัส (ปฏิฆสมฺผสฺสชา สญฺญา)
คือสัมผัสที่เกิดทางปัญจทวาร
เป็นสัญญาหยาบ
----
อธิวจนะ คือ สักว่าเป็นแต่ชื่อ
คือ สักแต่ว่ามาชนกัน เพราะใจก็อยู่ในใจ ไม่ได้มาชนกับอารมณ์จริงๆ
สร้างขึ้นมา เช่น สร้างขึ้นมาว่าเขาด่า เขาก็ไม่ได้มายืนด่าอยู่จริงๆ
เป็นการนึกเอาลอยๆ
เหมือนเขาวิ่งมาชนใจ แต่จริงๆ มีที่ไหน
สัญญาที่เกิดแต่ อธิวจนสัมผัส (คือสัมผัสที่เกิดทางมโนทวาร)
เป็นสัญญาละเอียด
สัญญาที่เกิดแต่ปฏิฆสัมผัส หมายถึงความสัมผัสถูกต้องกันแห่งรูปที่กระทบกันได้เช่นจักขุปสาทกระทบกับรูปารมณ์ เป็นต้น
วันศุกร์ที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
ทูเร วา สันติเก วา
ไกล คือ ไม่เสมอกัน ไม่เหมือนกัน ไม่เกี่ยวข้องกัน
อยากใกล้คนเจ็บ เจ็บด้วย
ใกล้ คือ เสมอกัน เหมือนกัน เกี่ยวข้องกัน
แบ่งเหมือนหยาบ / ละเอียด / ทราม / ประณีต
อยากใกล้คนเจ็บ เจ็บด้วย
โอฬาริกา วา สุขุมา วา หีนา วา ปณีตา วา
ความหยาบ ความละเอียด / ทราม ประณีต
แบ่งโดยชาติ (การเกิด)
อกุศล หยาบกว่า กุศล
แม้จะเป็นเวทนาที่เพลิดเพลินอย่างร้องคาราโอเกะ ก็ยังเร่าร้อน
กุศล หยาบกว่า อพยากต
เพราะยังมีวิบากให้จัดแจง
กุศลอกุศล ยังต้องลำบากปรุงแต่งขึ้นมา และก็ให้ผลด้วย
แบ่งโดยชาติ (การเกิด)
อกุศล หยาบกว่า กุศล
แม้จะเป็นเวทนาที่เพลิดเพลินอย่างร้องคาราโอเกะ ก็ยังเร่าร้อน
กุศล หยาบกว่า อพยากต
เพราะยังมีวิบากให้จัดแจง
กุศลอกุศล ยังต้องลำบากปรุงแต่งขึ้นมา และก็ให้ผลด้วย
อพยากต เป็นผลแล้ว ไม่ต้องขวนขวายปรุงขึ้นมา
สิ่งที่ให้ผล กับสิ่งที่เป็นผล
สิ่งที่เป็นผล มีความละเอียดกว่าโดยธรรมชาติ
กุศล อกุศล เป็นเหตุ
อัพยากต เป็นผล หรือเป็นกิริยา
---
ความหยาบ ความละเอียด / ทราม ประณีต
แบ่งโดยสภาวะ
ทุกข์ หยาบกว่า เพราะทนได้ยาก
สุข ละเอียดกว่า
อทุกขมสุข ยิ่งละเอียดกว่า
สุขทุกข์ ยังมีรู้สึกหวั่นไหว กระจัดกระจาย
อทุกขมสุข รู้สึกสงบ
จะหยาบละเอียดก็สักแต่ว่าเวทนา
---
ความหยาบ ความละเอียด / ทราม ประณีต
แบ่งโดยบุคคลที่เข้าสมาบัติได้
เวทนาของผู้ที่ไม่ได้เข้าสมาบัติ (คือเข้าไปพักจุดใดจุดหนึ่ง) เป็นของหยาบ
เพราะมันหลายอารมณ์ กระโดดไปมา
เวทนาของผู้ที่เข้าสมาบัติได้ เป็นของละเอียด (เข้าฌาน 1-2-3-4 ได้)
---
ความหยาบ ความละเอียด / ทราม ประณีต
แบ่งโดยความเป็นโลกิยะ โลกุตตระ
เวทนาที่ไม่มีอาสวะเข้าไปจับ ไปถือ ไปครอง เป็นของละเอียดกว่า
เวทนาที่เกิดกับโลกิยะ เป็นของหยาบ
---
พึงทราบเวทนาที่หยาบและละเอียด / ทราม ประณีต โดยการเปรียบเทียบเป็นลำดับๆ ไป
เช่น ในของหยาบด้วยกัน ก็มีหยาบละเอียดมากน้อย
โทสะ ก็หยาบกว่า โลภะ
ในโลภะ สสังขาริก (มีการกระตุ้น) ก็หยาบกว่า อสังขาริก
มีทิฏฐิประกอบ ก็หยาบกว่า ไม่มีทิฏฐิประกอบ
แบ่งโดยสภาวะ
ทุกข์ หยาบกว่า เพราะทนได้ยาก
สุข ละเอียดกว่า
อทุกขมสุข ยิ่งละเอียดกว่า
สุขทุกข์ ยังมีรู้สึกหวั่นไหว กระจัดกระจาย
อทุกขมสุข รู้สึกสงบ
จะหยาบละเอียดก็สักแต่ว่าเวทนา
---
ความหยาบ ความละเอียด / ทราม ประณีต
แบ่งโดยบุคคลที่เข้าสมาบัติได้
เวทนาของผู้ที่ไม่ได้เข้าสมาบัติ (คือเข้าไปพักจุดใดจุดหนึ่ง) เป็นของหยาบ
เพราะมันหลายอารมณ์ กระโดดไปมา
เวทนาของผู้ที่เข้าสมาบัติได้ เป็นของละเอียด (เข้าฌาน 1-2-3-4 ได้)
---
ความหยาบ ความละเอียด / ทราม ประณีต
แบ่งโดยความเป็นโลกิยะ โลกุตตระ
เวทนาที่ไม่มีอาสวะเข้าไปจับ ไปถือ ไปครอง เป็นของละเอียดกว่า
เวทนาที่เกิดกับโลกิยะ เป็นของหยาบ
---
พึงทราบเวทนาที่หยาบและละเอียด / ทราม ประณีต โดยการเปรียบเทียบเป็นลำดับๆ ไป
เช่น ในของหยาบด้วยกัน ก็มีหยาบละเอียดมากน้อย
โทสะ ก็หยาบกว่า โลภะ
ในโลภะ สสังขาริก (มีการกระตุ้น) ก็หยาบกว่า อสังขาริก
มีทิฏฐิประกอบ ก็หยาบกว่า ไม่มีทิฏฐิประกอบ
หรือเปรียบเทียบกุศล
กามาวจร ก็หยาบกว่า รูปาวจร
รูปาวจร ก็หยาบกว่า อรูปาวจร
อรูปาวจร ก็หยาบกว่า โลกุตตระ
ในกุศล ญาณสัมปยุต ละเอียดกว่า ญาณวิปยุต
สรุปคือ จะหยาบ จะละเอียดอันใด ก็สักว่าเวทนา ก็เป็นเพียงความรู้สึก
ก็ไม่มีตัวตนเหมือนกันนั่นแหละ
ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา
รู้จักเจ็บ รู้จักตาย กลัวเจ็บ กลัวตาย
จิตไม่มีว่าทนไหว ทนไม่ไหว
ที่ทนไหว ทนได้ ทนอย่างสบาย คือเวทนาที่เป็นสุข
จิตไม่รู้จักเจ็บ
ที่รู้จักเจ็บ รู้จักทนไม่ไหว คือ เวทนาที่เป็นทุกข์
ผู้ใดรู้เรื่องเวทนาดีก็จะไม่กลัวเจ็บอีกต่อไป
เพราะจิตมันไม่รู้จักเจ็บ
ตัวรู้จักเจ็บคือ เวทนา
ถ้าใครรู้จักกายดี
ก็จะไม่กลัวตายอีกต่อไป
เพราะจิตนั้นไม่ตาย
ตัวรู้จักตายคือ ... กาย
ความเจ็บก็ไม่รู้จักตายเหมือนกัน
เจ็บจนจะตาย ก็ยังไม่ตาย
จนกว่ากายจะพัง
ฉะนั้น กายพังไม่เจ็บ ส่วนเจ็บนี้ไม่ตาย 555
มีแต่เกิดดับเฉยๆ
ฉะนั้นที่ว่า "เราจะตาย" นี่ยังโง่อยู่
ของที่รู้จักตาย มันไม่รู้ตัวว่ามันตายด้วยซ้ำไป
ของที่รู้จักตาย มันไม่เจ็บปวดด้วยซ้ำ (กายไม่เคยร้องโอ๊ย~~~)
ตัวที่เจ็บปวด (คือเวทนา) ก็ไม่รู้จักตาย
ตัวที่รู้ว่าเจ็บปวด รู้ว่ากายพัง...ก็ไม่รู้จักพัง ก็คือตัววิญญาณ 5555
ฉะนั้น ความกลัวตาย เป็นแค่กิเลส
และความกลัวตายไม่ได้ตายไปกับความตาย
ก็อยู่เหมือนเดิม เหมือนเราตายมาหลายรอบ ก็ยังกลัวตายอยู่เหมือนเดิม
และของทีตายจริง ก็ไม่รู้จักกลัว (คือกายมันไม่รู้เรื่อง)
แม้กระทั่งความแก่ ก็ครอบงำจิตไม่ได้
ครอบงำกายได้เท่านั้น
ที่ทนไหว ทนได้ ทนอย่างสบาย คือเวทนาที่เป็นสุข
จิตไม่รู้จักเจ็บ
ที่รู้จักเจ็บ รู้จักทนไม่ไหว คือ เวทนาที่เป็นทุกข์
ผู้ใดรู้เรื่องเวทนาดีก็จะไม่กลัวเจ็บอีกต่อไป
เพราะจิตมันไม่รู้จักเจ็บ
ตัวรู้จักเจ็บคือ เวทนา
ถ้าใครรู้จักกายดี
ก็จะไม่กลัวตายอีกต่อไป
เพราะจิตนั้นไม่ตาย
ตัวรู้จักตายคือ ... กาย
ความเจ็บก็ไม่รู้จักตายเหมือนกัน
เจ็บจนจะตาย ก็ยังไม่ตาย
จนกว่ากายจะพัง
ฉะนั้น กายพังไม่เจ็บ ส่วนเจ็บนี้ไม่ตาย 555
มีแต่เกิดดับเฉยๆ
ฉะนั้นที่ว่า "เราจะตาย" นี่ยังโง่อยู่
ของที่รู้จักตาย มันไม่รู้ตัวว่ามันตายด้วยซ้ำไป
ของที่รู้จักตาย มันไม่เจ็บปวดด้วยซ้ำ (กายไม่เคยร้องโอ๊ย~~~)
ตัวที่เจ็บปวด (คือเวทนา) ก็ไม่รู้จักตาย
ตัวที่รู้ว่าเจ็บปวด รู้ว่ากายพัง...ก็ไม่รู้จักพัง ก็คือตัววิญญาณ 5555
ฉะนั้น ความกลัวตาย เป็นแค่กิเลส
และความกลัวตายไม่ได้ตายไปกับความตาย
ก็อยู่เหมือนเดิม เหมือนเราตายมาหลายรอบ ก็ยังกลัวตายอยู่เหมือนเดิม
และของทีตายจริง ก็ไม่รู้จักกลัว (คือกายมันไม่รู้เรื่อง)
แม้กระทั่งความแก่ ก็ครอบงำจิตไม่ได้
ครอบงำกายได้เท่านั้น
ตเทกชฺฌํ อภิสญฺญูหิตฺวา อภิสงฺขิปิตฺวา - ประมวลเข้า
ตตฺถ กตโม เวทนากฺขนฺโธ? ....
อภิสญฺญูหิตฺวา ประมวลแล้ว
อภิสงฺขิปิตฺวา ย่อแล้ว
ตเทกชฺฌํ (ตํ + เอกชฺฌํ) โดยความเป็นอันเดียวกัน
สังเกตการเรียนว่าตอนแรกจะเรียนแบบแยกแยะก่อน
แยกแยะรายละเอียดที่มีอยู่มากมายแล้วประมวลเข้ามา
รวมเป็นลักษณะหรืออาการเดียว (เช่น สำหรับเวทนาขันธ์ คือ เป็นเพียงความรู้สึกเท่านั้น)
จะเห็นละเอียดขนาดไหน ท้ายที่สุดแล้ว
มารวมทีหลังแล้วก็เห็นด้วยปัญญาอันชอบว่า
"นี่แหละสักแต่ว่าเวทนา"
ซึ่งเวทนานี้ ไม่ใช่ของเรา เราไม่เป็นนั่น นั่นไม่เป็นตัวตนของเรา
เห็นเท่านี้พอหรือไม่พอ?
ไม่เกี่ยวกับเห็นมากน้อยแค่ไหน
เกี่ยวกับแค่ว่า แล้วมันเลิกเห็นผิดได้มั้ย
ถ้าไม่ได้ ความหมายคือว่า ปฏิบัติเท่านั้นก็ "ไม่พอ"
แล้วถ้าไม่พอต้องทำอะไรเพิ่ม?
ก็มาดูตามพุทธพจน์
วัตถุประสงค์นี้ไม่ใช่ดูเพื่อให้เก่งกาจอะไร แต่เพื่อละความเห็นผิดที่ยังมีอยู่
ยิ่งมีอุบายเพิ่มเติม (เรียนแบบแยกแยะ) ก็ยิ่งมีอุบายละความเห็นผิดได้ง่ายเข้า ก็เท่านั้นเอง
บางทีไม่มีอุบายก็ไม่รู้จะไปทางไหน .
พิจารณาทางเดิมก็ได้เท่าเดิม (ซึ่งยังไม่พอสำหรับการละความเห็นผิด)
แก้ปัญหาไม่ได้
การปฏิบัติธรรมไม่เกี่ยวกับรู้มากไม่มาก
เกี่ยวกับว่าแก้ปัญหาได้มั้ย
ปัญหาก็คือกิเลส แก้กิเลสได้ไหม แก้ความเห็นผิดได้หรือยัง
การ "รวบ" ด้วย "ปัญญาอันชอบ" จะเกิดเองโดยธรรมชาติ
หน้าที่เราก็แค่ มาฝึกศีล สมาธิ ปัญญา ในกรรมฐาน ในองค์มรรคนี่แหละ
เพื่อ "ผล คือ ปัญญาอันชอบ" นี้ให้เห็นชัด เพื่อ...เพื่อ...เพื่อ ละกิเลสออกไป
อภิสญฺญูหิตฺวา ประมวลแล้ว
อภิสงฺขิปิตฺวา ย่อแล้ว
ตเทกชฺฌํ (ตํ + เอกชฺฌํ) โดยความเป็นอันเดียวกัน
สังเกตการเรียนว่าตอนแรกจะเรียนแบบแยกแยะก่อน
แยกแยะรายละเอียดที่มีอยู่มากมายแล้วประมวลเข้ามา
รวมเป็นลักษณะหรืออาการเดียว (เช่น สำหรับเวทนาขันธ์ คือ เป็นเพียงความรู้สึกเท่านั้น)
จะเห็นละเอียดขนาดไหน ท้ายที่สุดแล้ว
มารวมทีหลังแล้วก็เห็นด้วยปัญญาอันชอบว่า
"นี่แหละสักแต่ว่าเวทนา"
ซึ่งเวทนานี้ ไม่ใช่ของเรา เราไม่เป็นนั่น นั่นไม่เป็นตัวตนของเรา
เห็นเท่านี้พอหรือไม่พอ?
ไม่เกี่ยวกับเห็นมากน้อยแค่ไหน
เกี่ยวกับแค่ว่า แล้วมันเลิกเห็นผิดได้มั้ย
ถ้าไม่ได้ ความหมายคือว่า ปฏิบัติเท่านั้นก็ "ไม่พอ"
แล้วถ้าไม่พอต้องทำอะไรเพิ่ม?
ก็มาดูตามพุทธพจน์
วัตถุประสงค์นี้ไม่ใช่ดูเพื่อให้เก่งกาจอะไร แต่เพื่อละความเห็นผิดที่ยังมีอยู่
ยิ่งมีอุบายเพิ่มเติม (เรียนแบบแยกแยะ) ก็ยิ่งมีอุบายละความเห็นผิดได้ง่ายเข้า ก็เท่านั้นเอง
บางทีไม่มีอุบายก็ไม่รู้จะไปทางไหน .
พิจารณาทางเดิมก็ได้เท่าเดิม (ซึ่งยังไม่พอสำหรับการละความเห็นผิด)
แก้ปัญหาไม่ได้
การปฏิบัติธรรมไม่เกี่ยวกับรู้มากไม่มาก
เกี่ยวกับว่าแก้ปัญหาได้มั้ย
ปัญหาก็คือกิเลส แก้กิเลสได้ไหม แก้ความเห็นผิดได้หรือยัง
การ "รวบ" ด้วย "ปัญญาอันชอบ" จะเกิดเองโดยธรรมชาติ
หน้าที่เราก็แค่ มาฝึกศีล สมาธิ ปัญญา ในกรรมฐาน ในองค์มรรคนี่แหละ
เพื่อ "ผล คือ ปัญญาอันชอบ" นี้ให้เห็นชัด เพื่อ...เพื่อ...เพื่อ ละกิเลสออกไป
วันพฤหัสบดีที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
พิจารณาไตรลักษณ์
ผู้ที่พิจารณาเด่นในความไม่เที่ยง
จะเห็นสังขารปรากฏเป็นของสิ้นไป เสื่อมไป
ในใจจะรู้สึกว่ามีแต่ของหมดไปๆ แม้ของยังไม่หมด ก็ปรากฏในใจว่าหมด
แม้กำลังมีอยู่ ก็ปรากฏว่าหมด
เมื่อพิจารณาความไม่เที่ยงบ่อยๆ
จิตจะมากด้วยความน้อมใจเชื่อ เชื่อพระพุทธเจ้า
จิตก็จะดิ่งลงในลักษณะเป็นอธิโมกข์ คือมีสัทธินทรีย์เป็นตัวนำ
คนที่เดินตามสัทธินทรีย์ที่นำหน้าไป นี้เรียกว่า สัทธานุสารี
เดินตามมรรคมีองค์ 8 เรื่อยไปจนบรรลุธรรม ก็เรียกว่า สัทธาวิมุตติ
ได้อนิมิตตวิโมกข์ คือความหลุดพ้นโดยเห็นว่า
โลกนั้นไม่มีเครื่องหมายใดๆ ที่พอจะไปจับ ไปถือ ไปต้องเอาไว้ได้
เพราะมีแต่ของสิ้นไป หมดไปๆ
ท่านก็เห็นมุมอนัตตาเช่นกัน เพียงแต่จุดเน้น เน้นมาทางไม่เที่ยง
ผู้ที่พิจารณาเด่นในความเป็นทุกข์ เป็นของบีบคั้น
จะเห็นสังขารปรากฏเป็นของน่ากลัว
จิตก็จะหงอย เหงา
ปฏิบัติก็มักต้องฝ่าฟันความลำบากนานาประการ
จิตท่านจึงเน้นไปทางสมาธิ คือมีจิตมั่นคง ไม่หวั่นไหว
เพราะโลกมันมีแต่ทุกข์ เป็นของน่ากลัวอยู่เสมอ จึงระมัดระวังจิตใจมาก
มักจะไม่เข้าไปยุ่งกับคนนั้นคนนี้ เพราะสิ่งต่างๆ ปรากฏแก่ใจแล้วว่าน่ากลัวทุกอย่าง
อินทรีย์ที่เป็นตัวนำคือ สมาธินทรีย์ มีความไม่หวั่นไหวไปกับโลกเป็นตัวนำ
เรียกท่านเหล่านี้ว่า กายสักขี
เห็นโลกเป็นทุกข์ พึ่งพาอาศัยไม่ได้ ต้องพึ่งจิตตนเท่านั้น
เมื่อบรรลุธรรม ก็เรียกว่า กายสักขี เช่นเดิม
เมื่อบรรลุธรรมเรียก อัปปนิหิตวิโมกข์ คือบรรลุโดยเห็นว่า
โลกสังขารมีแต่ทุกข์ ไม่อาจจะหยั่งลงตรงไหนได้
ผู้ที่พิจารณาเด่นในควาเป็นอนัตตา
สังขารจะปรากฏเป็นความไม่ใช่ตัวตน ว่างจากตน
ไม่มีใครทำเหตุ ไม่มีใครรับผล
อินทรีย์ที่มากคือ ปัญญินทรีย์
ท่านที่หยั่งลงสู่ปฏิปทาเช่นนี้ เรียก ธัมมานุสารี
เมื่อบรรลุธรรม เรียก ทิฏฐิปปัตตะ บรรลุเพราะความเห็นตรงถูกต้อง
เมื่อได้บรรลุ ก็เรียกว่าเป็นแบบสุญตวิโมกข์
สตินทรีย์และวิริยินทรีย์ ทุกคนมีเหมือนกัน
แต่ความโดดเด่นจะแตกต่างกัน 3 อินทรีย์
จะเห็นสังขารปรากฏเป็นของสิ้นไป เสื่อมไป
ในใจจะรู้สึกว่ามีแต่ของหมดไปๆ แม้ของยังไม่หมด ก็ปรากฏในใจว่าหมด
แม้กำลังมีอยู่ ก็ปรากฏว่าหมด
เมื่อพิจารณาความไม่เที่ยงบ่อยๆ
จิตจะมากด้วยความน้อมใจเชื่อ เชื่อพระพุทธเจ้า
จิตก็จะดิ่งลงในลักษณะเป็นอธิโมกข์ คือมีสัทธินทรีย์เป็นตัวนำ
คนที่เดินตามสัทธินทรีย์ที่นำหน้าไป นี้เรียกว่า สัทธานุสารี
เดินตามมรรคมีองค์ 8 เรื่อยไปจนบรรลุธรรม ก็เรียกว่า สัทธาวิมุตติ
ได้อนิมิตตวิโมกข์ คือความหลุดพ้นโดยเห็นว่า
โลกนั้นไม่มีเครื่องหมายใดๆ ที่พอจะไปจับ ไปถือ ไปต้องเอาไว้ได้
เพราะมีแต่ของสิ้นไป หมดไปๆ
ท่านก็เห็นมุมอนัตตาเช่นกัน เพียงแต่จุดเน้น เน้นมาทางไม่เที่ยง
ผู้ที่พิจารณาเด่นในความเป็นทุกข์ เป็นของบีบคั้น
จะเห็นสังขารปรากฏเป็นของน่ากลัว
จิตก็จะหงอย เหงา
ปฏิบัติก็มักต้องฝ่าฟันความลำบากนานาประการ
จิตท่านจึงเน้นไปทางสมาธิ คือมีจิตมั่นคง ไม่หวั่นไหว
เพราะโลกมันมีแต่ทุกข์ เป็นของน่ากลัวอยู่เสมอ จึงระมัดระวังจิตใจมาก
มักจะไม่เข้าไปยุ่งกับคนนั้นคนนี้ เพราะสิ่งต่างๆ ปรากฏแก่ใจแล้วว่าน่ากลัวทุกอย่าง
อินทรีย์ที่เป็นตัวนำคือ สมาธินทรีย์ มีความไม่หวั่นไหวไปกับโลกเป็นตัวนำ
เรียกท่านเหล่านี้ว่า กายสักขี
เห็นโลกเป็นทุกข์ พึ่งพาอาศัยไม่ได้ ต้องพึ่งจิตตนเท่านั้น
เมื่อบรรลุธรรม ก็เรียกว่า กายสักขี เช่นเดิม
เมื่อบรรลุธรรมเรียก อัปปนิหิตวิโมกข์ คือบรรลุโดยเห็นว่า
โลกสังขารมีแต่ทุกข์ ไม่อาจจะหยั่งลงตรงไหนได้
ผู้ที่พิจารณาเด่นในควาเป็นอนัตตา
สังขารจะปรากฏเป็นความไม่ใช่ตัวตน ว่างจากตน
ไม่มีใครทำเหตุ ไม่มีใครรับผล
อินทรีย์ที่มากคือ ปัญญินทรีย์
ท่านที่หยั่งลงสู่ปฏิปทาเช่นนี้ เรียก ธัมมานุสารี
เมื่อบรรลุธรรม เรียก ทิฏฐิปปัตตะ บรรลุเพราะความเห็นตรงถูกต้อง
เมื่อได้บรรลุ ก็เรียกว่าเป็นแบบสุญตวิโมกข์
สตินทรีย์และวิริยินทรีย์ ทุกคนมีเหมือนกัน
แต่ความโดดเด่นจะแตกต่างกัน 3 อินทรีย์
วันพุธที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2561
ขันธ์
ขันธ์
กอง - รวมๆ กันเป็นกลุ่ม
ส่วน - แยกส่วน ไม่เหมือนคนอื่นเขา และคนอื่นเขาก็ไม่เหมือนกับมัน
รูป - รุปนลักษณะ พังแตกสลายตายได้
นาม ไม่พังด้วยความเย็นความร้อน ฯลฯ
เวทนา - ความรู้สึก รสชาติของโลก จึงนิยมใช้คำว่าเสวย
เป็นรสชาติของสิ่งนั้น
สัญญา - การกำหนด
สัญญางอกออกมาจากใจ (เห็นได้จากในสมาธิ ให้ไปอยู่กับสัญญาเดียว)
อยู่กับอารมณ์กรรมฐาน ก็จะไม่รู้สึกว่าอะไรเป็นอะไร
ถอยออกมาสักหน่อยก็จะเริ่มเห็นสัญญางอกออกมา อันนี้เป็นอันนี้ อันนั้นเป็นอันนั้น
เป็นการทำเครื่องหมายของสิ่งนั้นว่าต่างจากคนอื่นยังไง
สังขาร - การปรุงโดยมีเจตนาเป็นตัวนำ
โลภะ โทสะ โมหะ ถ้าไม่มีเจตนาประกอบเรื่องก็ไม่เป็นบาป
บุญก็เช่นกัน ก็ต้องมีเจตนามาประกอบ
วิญญาณ - ที่ทำงาน ที่รองรับ ที่วิ่งเล่น
มากับเขา มาก่อนเขา อยู่กับเขา อยู่ด้วยทุกตอน
ขนาดฟังไม่รู้เรื่องก็ยังรู้ว่าไม่รู้นี่ก็วิญญาณ
นอนหลับเป็นตายยังรู้เลย (รู้ว่านอนหลับ)
เกิดดับเหมือนไม่มีวันตาย เชื้อคืออวิชชา
มีทั้งที่ขึ้นและไม่ขึ้นทวาร (เช่น ภวังคจิต ปฏิสนธิจิต จุติ)
รู้ มี 3 ขันธ์
ไม่รู้ มี 1 ขันธ์
ไม่ค่อยรู้เรื่อง 1 ขันธ์
ปัญญาน้อยๆ กำหนด 2 ขันธ์ก่อน รูป กับเวทนา (แค่รู้สึก ไม่ค่อยรู้เรื่องอะไรกับใคร)
รู้แบบสัญญา
รู้แบบกำหนด รู้ชื่อมัน
กำหนดได้เฉพาะเท่าที่เคยรู้มาก่อน
ปัญญารู้ถึงไหน สัญญากำหนดได้ถึงนั่น วิญญาณก็รู้ตามว่า ได้รู้แล้วๆ
ปัญญา
ความรู้ชนิดบุกเบิกไปเรื่อยๆ
กอง - รวมๆ กันเป็นกลุ่ม
ส่วน - แยกส่วน ไม่เหมือนคนอื่นเขา และคนอื่นเขาก็ไม่เหมือนกับมัน
รูป - รุปนลักษณะ พังแตกสลายตายได้
นาม ไม่พังด้วยความเย็นความร้อน ฯลฯ
เวทนา - ความรู้สึก รสชาติของโลก จึงนิยมใช้คำว่าเสวย
เป็นรสชาติของสิ่งนั้น
สัญญา - การกำหนด
สัญญางอกออกมาจากใจ (เห็นได้จากในสมาธิ ให้ไปอยู่กับสัญญาเดียว)
อยู่กับอารมณ์กรรมฐาน ก็จะไม่รู้สึกว่าอะไรเป็นอะไร
ถอยออกมาสักหน่อยก็จะเริ่มเห็นสัญญางอกออกมา อันนี้เป็นอันนี้ อันนั้นเป็นอันนั้น
เป็นการทำเครื่องหมายของสิ่งนั้นว่าต่างจากคนอื่นยังไง
สังขาร - การปรุงโดยมีเจตนาเป็นตัวนำ
โลภะ โทสะ โมหะ ถ้าไม่มีเจตนาประกอบเรื่องก็ไม่เป็นบาป
บุญก็เช่นกัน ก็ต้องมีเจตนามาประกอบ
วิญญาณ - ที่ทำงาน ที่รองรับ ที่วิ่งเล่น
มากับเขา มาก่อนเขา อยู่กับเขา อยู่ด้วยทุกตอน
ขนาดฟังไม่รู้เรื่องก็ยังรู้ว่าไม่รู้นี่ก็วิญญาณ
นอนหลับเป็นตายยังรู้เลย (รู้ว่านอนหลับ)
เกิดดับเหมือนไม่มีวันตาย เชื้อคืออวิชชา
มีทั้งที่ขึ้นและไม่ขึ้นทวาร (เช่น ภวังคจิต ปฏิสนธิจิต จุติ)
รู้ มี 3 ขันธ์
ไม่รู้ มี 1 ขันธ์
ไม่ค่อยรู้เรื่อง 1 ขันธ์
ปัญญาน้อยๆ กำหนด 2 ขันธ์ก่อน รูป กับเวทนา (แค่รู้สึก ไม่ค่อยรู้เรื่องอะไรกับใคร)
รู้แบบสัญญา
รู้แบบกำหนด รู้ชื่อมัน
กำหนดได้เฉพาะเท่าที่เคยรู้มาก่อน
ปัญญารู้ถึงไหน สัญญากำหนดได้ถึงนั่น วิญญาณก็รู้ตามว่า ได้รู้แล้วๆ
ปัญญา
ความรู้ชนิดบุกเบิกไปเรื่อยๆ
วันจันทร์ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
พัฒนาการความรู้ทางจิต
พัฒนาการความรู้ทางจิต
3 ขั้นตอน
สัญญา
ความรู้เก็บข้อมูล กำหนดจดจำ
ไม่มีอิทธิพลต่อความคิด นิสัยใจคอ
ไม่เปลี่ยนความคิด ไม่เปลี่ยนคำพูด ไม่เปลี่ยนการกระทำ
แต่มีความรู้
เช่น รู้หมดว่าอะไรไม่ดี
แต่รู้หมดอดไม่ได้
อะไรดีรู้หมด
ทางพุทธเน้นให้เก็บข้อมูลที่ถูกไว้
(สุตตะ)
ทิฏฐิ
เป็นความรู้ที่ผ่านการกลั่นกรอง คิดนึก ตกผลึก พิจารณา ทบทวนเหตุผล จากข้อมูลเดิม
จนลงใจเชื่อแล้วว่ามันดีกับเรา
เกิดความเข้าใจที่ยึดไว้เป็นอุดมคติของตัวเอง
เป็นความถูกผิดที่ "เกี่ยวข้องกับตัวเอง"
ไม่ได้เกี่ยวข้องกับความถูกผิด "ตามธรรมชาติ"
เป็นคำกลางๆ ไม่ได้เป็นกุศล หรืออกุศล
มีทั้งมิจฉาและสัมมา
(แต่ในอภิธรรมมีทิฏฐิเจตสิกซึ่งเป็นอกุศล)
ความรู้แบบทิฏฐิจะเปลี่ยนความคิด การกระทำและการดำเนินชีวิต
แต่ยังมีความยึดติด
430
3 ขั้นตอน
สัญญา
ความรู้เก็บข้อมูล กำหนดจดจำ
ไม่มีอิทธิพลต่อความคิด นิสัยใจคอ
ไม่เปลี่ยนความคิด ไม่เปลี่ยนคำพูด ไม่เปลี่ยนการกระทำ
แต่มีความรู้
เช่น รู้หมดว่าอะไรไม่ดี
แต่รู้หมดอดไม่ได้
อะไรดีรู้หมด
ทางพุทธเน้นให้เก็บข้อมูลที่ถูกไว้
(สุตตะ)
ทิฏฐิ
เป็นความรู้ที่ผ่านการกลั่นกรอง คิดนึก ตกผลึก พิจารณา ทบทวนเหตุผล จากข้อมูลเดิม
จนลงใจเชื่อแล้วว่ามันดีกับเรา
เกิดความเข้าใจที่ยึดไว้เป็นอุดมคติของตัวเอง
เป็นความถูกผิดที่ "เกี่ยวข้องกับตัวเอง"
ไม่ได้เกี่ยวข้องกับความถูกผิด "ตามธรรมชาติ"
เป็นคำกลางๆ ไม่ได้เป็นกุศล หรืออกุศล
มีทั้งมิจฉาและสัมมา
(แต่ในอภิธรรมมีทิฏฐิเจตสิกซึ่งเป็นอกุศล)
ความรู้แบบทิฏฐิจะเปลี่ยนความคิด การกระทำและการดำเนินชีวิต
แต่ยังมีความยึดติด
430
สัญญาเป็นทุกข์หรือสมุทัย และจิตตสังขาร
วิญญาณรู้แจ้ง
สัญญารู้จัก
สัญญาธรรมดา : เป็นทุกข์
กำหนดสูงต่ำ ดำขาว รูปพรรณสันฐาน ... อันนี้ยังเป็นปรมัตถ์
กำหนดชื่อต่างๆ ใช้ในการสื่อสาร ... อันนี้เป็นบัญญัติ
คนที่มีชื่่อในหัวมาก ข้อมูลมาก
คิด ตัดสินไปตามข้อมูล
ข้อมูลมักจะบังความจริง
เพราะความจริงเปลี่ยนไปเรื่อย
สัญญาซับซ้อน : เป็นทุกขสมุทัย
สัญญาเกิดจากตัณหา มานะ ทิฏฐิ
กำหนดขึ้นจากสิ่งที่ซํบซ้อน
ความซับซ้อนนี่มาจากกิเลส
เรามีสิทธิในสิ่งนั้น ในสิ่งนี้
กำหนดแบบนี้จะทำให้เข้าถึงความจริงยาก
เพราะจริงๆ มันไม่เป็น
กำหนดว่าเรายิ่งใหญ่ มีอำนาจ
กำหนดแบบนี้จะทำให้เข้าถึงความจริงยาก
สัญญารู้จัก
สัญญาธรรมดา : เป็นทุกข์
กำหนดสูงต่ำ ดำขาว รูปพรรณสันฐาน ... อันนี้ยังเป็นปรมัตถ์
กำหนดชื่อต่างๆ ใช้ในการสื่อสาร ... อันนี้เป็นบัญญัติ
คนที่มีชื่่อในหัวมาก ข้อมูลมาก
คิด ตัดสินไปตามข้อมูล
ข้อมูลมักจะบังความจริง
เพราะความจริงเปลี่ยนไปเรื่อย
สัญญาซับซ้อน : เป็นทุกขสมุทัย
สัญญาเกิดจากตัณหา มานะ ทิฏฐิ
กำหนดขึ้นจากสิ่งที่ซํบซ้อน
ความซับซ้อนนี่มาจากกิเลส
เรามีสิทธิในสิ่งนั้น ในสิ่งนี้
กำหนดแบบนี้จะทำให้เข้าถึงความจริงยาก
เพราะจริงๆ มันไม่เป็น
กำหนดว่าเรายิ่งใหญ่ มีอำนาจ
กำหนดแบบนี้จะทำให้เข้าถึงความจริงยาก
แต่จริงๆ มันไม่ใหญ่โต
เราทำบุญก็ได้บุญ เราทำบาปก็ได้บาป
กำหนดแบบนี้จะทำให้เข้าถึงความจริงยาก
แต่จริงๆ เราไม่ได้อยู่ตลอดไป
จิตตสังขาร
มีความหมาย 2 ลักษณะ
อันแรก พูดถึงองค์ประกอบที่ทำให้เกิดจิต จะหมายถึง เวทนาและสัญญา
จิตจะเกิดต้องมีเจตสิก และเจตสิกที่เกิดเสมอคือ เวทนาและสัญญา
ความหมายนี้ จิตตสังขารเป็นทุกข์
อันที่สอง พูดว่าจิตมันหมุนวิ่งวุ่นไปได้ยังไง มันสืบต่อไปได้อย่างไร
อันนี้จะหมายถึง เจตนา
ซึ่งเกิดประกอบจิตแล้วทำให้จิตต้องมีการกระทำนั่นนี่
เป็นปัจจัยให้เกิดวิญญาณ
สังขารในปฏิจจฯ พูดถึงเจตนา
ความหมายนี้ จิตตสังขารเป็นทุกขสมุทัย
สังขารที่ทำให้เกิดวิญญาณ พูดอยู่ 2 แง่หลักๆ
แง่แรก อภิสังขาร
แง่สอง กายสังขาร วจีสังขาร จิตตสังขาร
วันอาทิตย์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
ลักษณะตัดสินธรรมวินัย 8
คนนู้นอ้างอย่างนู้น คนนี้อ้างอย่างนี้
อ้างสูตรนู้นนี้ เยอะมาก
เราดูรวมๆ ไปเลย
ว่าสิ่งที่เขาพูด สิ่งที่ท่านนี้ๆ สอน เป็นไปเพื่ออะไร
- วิราคาย : เป็นไปเพื่อการคลายความติดความข้อง ถ้าสอนให้เราไปพึ่งนู่นพึ่งนี่...ไม่ไหว
- วิสงฺโยคาย : เป็นไปในลักษณะไม่ประกอบสัตว์ไว้ ไม่ดึงเราไว้ในโลก คำสอนทำนอง "หาสมาชิก"
- อปจยาย : ไม่เป็นไปเพื่อการสั่งสม สั่งสมบุญ สั่งสมนู่นนี่ เอาไปเยอะๆ จะได้ไปเสวยนู่นนี่
- อปฺปิจฺฉตาย : เป็นไปเพื่อความมักน้อย คำสอนที่ทำให้อยากได้นั่นได้นี่ ไม่ใช่
- สนฺตุฏฺฐิตาย : เพื่อพอใจในสิ่งที่ตนมี
- ปวิเวกาย : เป็นไปเพื่อความสงัด เป็นไปเพื่อความอยู่คนเดียว ไม่ใช่เพื่อคลุกคลี หาพวกพ้อง
- วิริยารมฺภาย : เป็นไปเพื่อความขยัน อยากได้อะไรต้องลงมือ และต้องทำให้ถึงจุด ทำไม่ถึงไม่ได้เด็ดขาด ทำแล้วจะมาหวังว่าควรจะได้โดยไม่ได้มีเหตุที่เหมาะสมไม่ใช่ มานั่งหวังลมๆ แล้งๆ ปลอบใจตัวเองจะได้นั่นได้นี่...ผิด
- สุภรตาย : ไม่บ่นกับเรื่องการอยู่การกินเล็กๆ น้อยๆ อยู่ง่าย สบาย คนอื่นคบหาง่าย สะดวก
วิธีมองบุคคล มองภาพรวมของคน
โลกมันไม่มีเหตุผลโดยธรรมชาติ
คนมีญาณก็สบาย เห็นตามที่เป็นจริง ไม่เอาเข้าตัว
พวกมีเหตุผลแต่ยังเป็นทิฏฐิจึงทุกข์สารพัด เพราะยังจะเอาเข้าตัว
คนดี มีอุดมคติจึงทุกข์เยอะ
มองคนแบบองค์รวม...มองง่ายมาก
คนนี้เกิดมาเพราะอะไร
เพราะอวิชชา
ถ้ามองอย่างนี้จะไม่มีปัญหาอะไรกับใครเลย
ทำไม่ดีเพราะอะไร?
เพราะอวิชชา
ทำไมคนนั้นเป็นอย่างนี้ ทำไมคนนี้เป็นอย่างนั้น
เพราะอวิชชา...จบ
เพราะไม่รู้อริยสัจ...จบ
มานั่งวิเคราะห์สาเหตุแบบโลกๆ เหตุปัจจัยมันเยอะมาก
เราว่าเขาได้แสดงว่าเรายังติดกับสิ่งนั้น
สิ่งนั้นมีโอกาสเกิดขึ้นกับเราเช่นกัน
ทิฏฐินี่เป็นความรู้ แต่เป็นการดึงเหตุผลเข้ามาหาตัว
แม้จะถูก แต่ยังอันตราย
ปัจจัย
อุปนิสยปัจัย
เคยชิน จนไม่เห็นว่าผิด
คิดว่าเป็นเรื่องธรรมดา
เช่น คุยเรื่องชาวบ้าน
อารัมณปัจจัย
คิดว่าการเป็นอย่างนี้มันดี
วันเสาร์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
ชันธ์ VS อุปาทานขันธ์
ขันธ์ 5 นี่กว้างกว่าอุปาทานขันธ์
อุปาทานขันธ์นี่เจาะจงลงไป
ในการปฏิบัติเบื้องต้นจะพิจารณาขันธ์ 5 อะไรก็ได้
ภายใน ภายนอกก็ได้
ไม่เที่ยง ไม่ใช่ตัวตน
คือเป็นการพิจารณาให้เกิดปัญญาแบบกว้างขวาง ให้รู้ว่าอะไรเป็นอะไรเท่านั้น
แต่การพิจารณาเช่นนี้ยังไม่ลึกซึ้ง "พอ" ที่จะถอนกิเลส
แต่เมื่อพิจารณาลึกลงไป เช่น พิจารณาปฏิจจฯ
จะไม่ได้เอาขันธ์ทั่วไปมาพิจารณา
คือ ไม่ได้เอาใบไม้ใบหญ้า หรือขันธ์ชาวบ้าน ขันธ์แมว หมาอะไรมา
เอาขันธ์ที่ยึดอยู่มาพิจารณา
เอาขันธ์ที่เกี่ยวข้อง ที่ยึดถืออยู่นี่
ก็คือมีขันธ์ตัวเอง แล้วก็ขันธ์ที่เกี่ยวข้องที่เที่ยวไปยึดถือนี่ล่ะมาพิจารณา (เช่น ขันธ์สามี)
ที่มันจะก่อให้เกิดการเวียนว่าย
มันเฉพาะเจาะจงลงไป
ขันธ์ที่เป็นที่ตั้ง ที่เป็นที่อาศัยของอุปาทาน (อุปาทานิย)
ขันธ์อันอาศัยอุปาทานเกิด
เป็นขันธ์ที่เป็นอารมณ์ของอาสวะ (สาสว)
ในอริยสัจนี่ ขันธ์ 5 ไม่ใช่ทุกข์นะ
แต่อุปาทานขันธ์ 5 เป็นตัวทุกข์
จะเข้าใจคำว่าอุปาทานขันธ์
ต้องเข้าใจคำว่า "ขันธ์" อันนี้ทั่วไป รู้อยู่แล้ว แปลว่า กอง
และคำว่า "อุปาทาน"
อุปาทานเป็นชื่อกิเลส 2 ตัว คือโลภะและทิฏฐิ
อุปาทานก็เป็นส่วนหนึ่งของขันธ์เช่นกัน จัดเป็นสังขารขันธ์
อุปาทานแบ่งโดยชื่อ มี 4 (กามุ~, ทิฏฐุ~, สีลัพพัตตุ~, อัตวาทุ~)
โดยเจตสิกมี 2 คือ โลภะ (กามุ~) และทิฏฐิ (ทิฏฐุ~, สีลัพพัตตุ~, อัตวาทุ~)
ตัวอุปาทาน เป็นทุกขสมุทัย
ขันธ์ เป็นกลางๆ ความหมายคือ กอง กลุ่ม ก้อน
อุปาทานขันธ์ ความหมายมีหลายอย่าง หลักๆ มี 3 ความหมาย
พูดอีกอย่าง กิเลสเกิดในขันธ์ไหน
กิเลสเกิดที่ไหน ที่นั่นคืออุปาทานขันธ์
กิเลสไม่ได้เกิดในขันธ์ชาวบ้าน ดังนั้นขันธ์ชาวบ้านจึงไม่ใช่อุปาทานขันธ์
อีกความหมายหนึ่ง คือ ขันธ์ที่เกิดมาจากอุปาทาน (เกิดจากกรรม)
เช่น รูปที่เกิดจากกรรมก็มี รูปที่เกิดจากจิตก็มี รูปที่ิเกิดจากอุตุก็มี รูปที่เกิดจากอาหารก็มี
อุปาทานขันธ์ ก็คือ ในกรณีรูปก็หมายเอาถึงเฉพาะ กัมมชรูป
อุปาทานขันธ์ จึงไม่ใช่ขันธ์ทั้งหมด หมายเอาเฉพาะบางส่วน
และก็ไม่ใช่ตัวเราทั้งหมดด้วย หมายเอาเฉพาะบางส่วนที่เข้าตามหลักข้างต้น
ขันธ์ไหนบ้างที่ไม่ใช่อุปาทานขันธ์
ก็คือ หมายถึงขันธ์ที่ไม่สามารถเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยสิ้นเชิง
เช่น โลกุตตระจิต คือ มรรคจิต ผลจิต และเจตสิกที่เกิดกับจิตเหล่านั้น
อุปาทานขันธ์แต่ละคนไม่เหมือนกัน
เวลาพูดในแบบอภิธรรม ก็จะแยกขันธ์ 5 มีจิตเท่าไร เจตสิกเท่าไร
แต่ไม่ได้หมายความว่าทุกคนจะได้เป็นอย่างนั้น มันขึ้นกับว่าเขายึดอะไร
ไม่ได้ยึดอะไรอันนั้นก็ไม่ใช่อุปาทานขันธ์สำหรับคนนั้น
แต่ที่แน่นอนที่ทุกคนยึดไม่ได้เลยคือ มรรคจิต ผลจิต
ขันธ์ 5 ของเรา คือถูกเรายึด
เป็นอุปาทานขันธ์ในแง่ เป็น "อารมณ์" ของอุปาทาน
ส่วนอุปาทานขันธ์ในแง่ว่า เป็น "ผล" มาจากอุปาทาน
ต้องมาพิจารณาในปฏิจจฯ นี่
ตอนนี้มันเป็นอย่างนี้ อีกตอนนึงมันเป็นอีกอย่างนึง เช่น
สังขารปัจจยา วิญญานัง : ก็ไม่ได้หมายเอาวิญญานทั้งหมด หมายเอาเฉพาะวิบาก
วิญญานปัจจยา นามรูปัง : ก็หมายเอาเฉพาะกัมมชรูป
พอเลยๆ ไปถึง ตัณหา อุปาทาน ก็เริ่มเลยไปเป็นกิเลสต่อไป ยึดถืออะไรต่อไป
มันเป็นคนละตอนกัน
อันนี้คือ อุปาทานขันธ์ในแง่ว่า เป็น "ผล" มาจากอุปาทาน
ตัวปฏิจจสมุปปันธรรม 12 นี่แหละที่เป็นอุปาทานขันธ์ 5
ธรรมท.ที่เกิดมาจากปฏิจจสมุปปาทนี่แหละ เป็นอุปาทานขันธ์ 5
แต่ว่าตอนนี้มันเป็นอย่างนี้ อีกตอนนึงมันเป็นอีกอย่างนึง
ท่านจึงได้สรุปว่า "ความเป็นไปของกองทุกข์ ย่อมเป็นด้วยประการฉะนี้"
หมายเหตุ
ปฏิจจสมุปบาท = ตัวเงื่อนไข
ปฏิจจสมุปปัน = สิ่งที่เกิดจากเงื่อนไข
เวลาใช้คำว่า "ดับ" => ดับอุปาทาน, ดับขันธ์ (ไม่ใช่ดับอุปาทานขันธ์)
เวลาใช้คำว่า "รู้" => หมายถึง รู้อุปาทานขันธ์ว่าเป็นทุกข์
อุปาทานขันธ์ 5 นี่เอาไว้รู้ ตามหลักอริยสัจ
แต่เวลาดับ นี่ดับทั้งหมด แม้รูปที่เกิดจาก จิต, อุตุ, อาหาร ก็ดับด้วย จึงไม่ใช่คำว่าดับอุปาทานขันธ์
425 ตอบปัญหา หน้า 6
อุปาทานขันธ์นี่เจาะจงลงไป
ในการปฏิบัติเบื้องต้นจะพิจารณาขันธ์ 5 อะไรก็ได้
ภายใน ภายนอกก็ได้
ไม่เที่ยง ไม่ใช่ตัวตน
คือเป็นการพิจารณาให้เกิดปัญญาแบบกว้างขวาง ให้รู้ว่าอะไรเป็นอะไรเท่านั้น
แต่การพิจารณาเช่นนี้ยังไม่ลึกซึ้ง "พอ" ที่จะถอนกิเลส
แต่เมื่อพิจารณาลึกลงไป เช่น พิจารณาปฏิจจฯ
จะไม่ได้เอาขันธ์ทั่วไปมาพิจารณา
คือ ไม่ได้เอาใบไม้ใบหญ้า หรือขันธ์ชาวบ้าน ขันธ์แมว หมาอะไรมา
เอาขันธ์ที่ยึดอยู่มาพิจารณา
เอาขันธ์ที่เกี่ยวข้อง ที่ยึดถืออยู่นี่
ก็คือมีขันธ์ตัวเอง แล้วก็ขันธ์ที่เกี่ยวข้องที่เที่ยวไปยึดถือนี่ล่ะมาพิจารณา (เช่น ขันธ์สามี)
ที่มันจะก่อให้เกิดการเวียนว่าย
มันเฉพาะเจาะจงลงไป
ขันธ์ที่เป็นที่ตั้ง ที่เป็นที่อาศัยของอุปาทาน (อุปาทานิย)
ขันธ์อันอาศัยอุปาทานเกิด
เป็นขันธ์ที่เป็นอารมณ์ของอาสวะ (สาสว)
ในอริยสัจนี่ ขันธ์ 5 ไม่ใช่ทุกข์นะ
แต่อุปาทานขันธ์ 5 เป็นตัวทุกข์
จะเข้าใจคำว่าอุปาทานขันธ์
ต้องเข้าใจคำว่า "ขันธ์" อันนี้ทั่วไป รู้อยู่แล้ว แปลว่า กอง
และคำว่า "อุปาทาน"
อุปาทานเป็นชื่อกิเลส 2 ตัว คือโลภะและทิฏฐิ
อุปาทานก็เป็นส่วนหนึ่งของขันธ์เช่นกัน จัดเป็นสังขารขันธ์
อุปาทานแบ่งโดยชื่อ มี 4 (กามุ~, ทิฏฐุ~, สีลัพพัตตุ~, อัตวาทุ~)
โดยเจตสิกมี 2 คือ โลภะ (กามุ~) และทิฏฐิ (ทิฏฐุ~, สีลัพพัตตุ~, อัตวาทุ~)
ตัวอุปาทาน เป็นทุกขสมุทัย
ขันธ์ เป็นกลางๆ ความหมายคือ กอง กลุ่ม ก้อน
อุปาทานขันธ์ ความหมายมีหลายอย่าง หลักๆ มี 3 ความหมาย
- เป็นขันธ์ที่เกิดมาจากอุปาทาน
- ขันธ์ที่เป็นที่ตั้งของอุปาทาน
- ขันธ์อันเป็นอารมณ์ของอุปาทาน
พูดอีกอย่าง กิเลสเกิดในขันธ์ไหน
กิเลสเกิดที่ไหน ที่นั่นคืออุปาทานขันธ์
กิเลสไม่ได้เกิดในขันธ์ชาวบ้าน ดังนั้นขันธ์ชาวบ้านจึงไม่ใช่อุปาทานขันธ์
อีกความหมายหนึ่ง คือ ขันธ์ที่เกิดมาจากอุปาทาน (เกิดจากกรรม)
เช่น รูปที่เกิดจากกรรมก็มี รูปที่เกิดจากจิตก็มี รูปที่ิเกิดจากอุตุก็มี รูปที่เกิดจากอาหารก็มี
อุปาทานขันธ์ ก็คือ ในกรณีรูปก็หมายเอาถึงเฉพาะ กัมมชรูป
อุปาทานขันธ์ จึงไม่ใช่ขันธ์ทั้งหมด หมายเอาเฉพาะบางส่วน
และก็ไม่ใช่ตัวเราทั้งหมดด้วย หมายเอาเฉพาะบางส่วนที่เข้าตามหลักข้างต้น
ขันธ์ไหนบ้างที่ไม่ใช่อุปาทานขันธ์
ก็คือ หมายถึงขันธ์ที่ไม่สามารถเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยสิ้นเชิง
เช่น โลกุตตระจิต คือ มรรคจิต ผลจิต และเจตสิกที่เกิดกับจิตเหล่านั้น
อุปาทานขันธ์แต่ละคนไม่เหมือนกัน
เวลาพูดในแบบอภิธรรม ก็จะแยกขันธ์ 5 มีจิตเท่าไร เจตสิกเท่าไร
แต่ไม่ได้หมายความว่าทุกคนจะได้เป็นอย่างนั้น มันขึ้นกับว่าเขายึดอะไร
ไม่ได้ยึดอะไรอันนั้นก็ไม่ใช่อุปาทานขันธ์สำหรับคนนั้น
แต่ที่แน่นอนที่ทุกคนยึดไม่ได้เลยคือ มรรคจิต ผลจิต
ขันธ์ 5 ของเรา คือถูกเรายึด
เป็นอุปาทานขันธ์ในแง่ เป็น "อารมณ์" ของอุปาทาน
ส่วนอุปาทานขันธ์ในแง่ว่า เป็น "ผล" มาจากอุปาทาน
ต้องมาพิจารณาในปฏิจจฯ นี่
ตอนนี้มันเป็นอย่างนี้ อีกตอนนึงมันเป็นอีกอย่างนึง เช่น
สังขารปัจจยา วิญญานัง : ก็ไม่ได้หมายเอาวิญญานทั้งหมด หมายเอาเฉพาะวิบาก
วิญญานปัจจยา นามรูปัง : ก็หมายเอาเฉพาะกัมมชรูป
พอเลยๆ ไปถึง ตัณหา อุปาทาน ก็เริ่มเลยไปเป็นกิเลสต่อไป ยึดถืออะไรต่อไป
มันเป็นคนละตอนกัน
อันนี้คือ อุปาทานขันธ์ในแง่ว่า เป็น "ผล" มาจากอุปาทาน
ตัวปฏิจจสมุปปันธรรม 12 นี่แหละที่เป็นอุปาทานขันธ์ 5
ธรรมท.ที่เกิดมาจากปฏิจจสมุปปาทนี่แหละ เป็นอุปาทานขันธ์ 5
แต่ว่าตอนนี้มันเป็นอย่างนี้ อีกตอนนึงมันเป็นอีกอย่างนึง
ท่านจึงได้สรุปว่า "ความเป็นไปของกองทุกข์ ย่อมเป็นด้วยประการฉะนี้"
หมายเหตุ
ปฏิจจสมุปบาท = ตัวเงื่อนไข
ปฏิจจสมุปปัน = สิ่งที่เกิดจากเงื่อนไข
เวลาใช้คำว่า "ดับ" => ดับอุปาทาน, ดับขันธ์ (ไม่ใช่ดับอุปาทานขันธ์)
เวลาใช้คำว่า "รู้" => หมายถึง รู้อุปาทานขันธ์ว่าเป็นทุกข์
อุปาทานขันธ์ 5 นี่เอาไว้รู้ ตามหลักอริยสัจ
แต่เวลาดับ นี่ดับทั้งหมด แม้รูปที่เกิดจาก จิต, อุตุ, อาหาร ก็ดับด้วย จึงไม่ใช่คำว่าดับอุปาทานขันธ์
425 ตอบปัญหา หน้า 6
วันศุกร์ที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
ดิฉันไม่เห็นทุกข์อะไรเลย?
อุปาทานขันธ์ 5 เป็นทุกข์
"ดิฉันไม่เป็นทุกข์"
ก็ "ดิฉัน" ผู้พูดว่าไม่เป็นทุกข์นั่นแหละ เป็นทุกข์แล้ว
"ดิฉันไม่เห็นทุกข์อะไรเลย"
ก็ "ดิฉัน" ผู้ไม่เห็นทุกข์อะไรนี่ก็แก่ลงทุกวัน
ต่อให้จะเพิกเฉยว่าไม่ทุกข์ไม่ร้อนอะไร
แต่ก็ร้อนด้วยอำนาจความแก่ เจ็บ ตาย และเกิด
ผู้สบายไม่ทุกข์ร้อนก็แก่เหมือนกัน เจ็บเหมือนกัน ตายเหมือนกัน
เวียนไปเรื่อย
"ดิฉันไม่เป็นทุกข์"
ก็ "ดิฉัน" ผู้พูดว่าไม่เป็นทุกข์นั่นแหละ เป็นทุกข์แล้ว
"ดิฉันไม่เห็นทุกข์อะไรเลย"
ก็ "ดิฉัน" ผู้ไม่เห็นทุกข์อะไรนี่ก็แก่ลงทุกวัน
ต่อให้จะเพิกเฉยว่าไม่ทุกข์ไม่ร้อนอะไร
แต่ก็ร้อนด้วยอำนาจความแก่ เจ็บ ตาย และเกิด
ผู้สบายไม่ทุกข์ร้อนก็แก่เหมือนกัน เจ็บเหมือนกัน ตายเหมือนกัน
เวียนไปเรื่อย
วันศุกร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
หมายเหตุการสังเกต
หมายเหตุการสังเกต
รู้สึกทุกข์
รู้ว่าทุกข์
ไม่เหมือนกัน
รู้สึกทุกข์เป็นเวทนา
รู้ว่าทุกข์เป็นวิญญาณ
เกิดพร้อมกันแหละ แต่ถ้าสติสมาธิดีจะแยกได้
หรือ
สบายตา
ตาเห็น
ก็คนละอัน
สบายใจ - เวทนา
รู้ว่าสบายใจ - วิญญาณ (เป็นความรู้ว่าเป็นนู่นเป็นนี่)
ก็คนละอัน
แต่ส่วนใหญ่รับรู้แล้วก็ติดอารมณ์
ไม่ตั้งมั่น เลยแยกไม่ออก
รู้สึกทุกข์
รู้ว่าทุกข์
ไม่เหมือนกัน
รู้สึกทุกข์เป็นเวทนา
รู้ว่าทุกข์เป็นวิญญาณ
เกิดพร้อมกันแหละ แต่ถ้าสติสมาธิดีจะแยกได้
หรือ
สบายตา
ตาเห็น
ก็คนละอัน
สบายใจ - เวทนา
รู้ว่าสบายใจ - วิญญาณ (เป็นความรู้ว่าเป็นนู่นเป็นนี่)
ก็คนละอัน
แต่ส่วนใหญ่รับรู้แล้วก็ติดอารมณ์
ไม่ตั้งมั่น เลยแยกไม่ออก
วันพฤหัสบดีที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
สังเกตภวังคจิต
ปฏิสนธิ~
ภวังค~
จุติ~
ก็เป็นจิตประเภทเดียวกัน
ธรรมชาติของจิตย่อมมีอารมณ์
ปฏิสนธิ~
ภวังค~
จุติ~
ภวังค~
จุติ~
ก็เป็นจิตประเภทเดียวกัน
ธรรมชาติของจิตย่อมมีอารมณ์
ปฏิสนธิ~
ภวังค~
จุติ~
ว่าโดยความรู้สึก "เรา" จะไม่รู้สึกตัว
แต่จิตมันรู้
ความ "รู้สึก" ที่ว่าเรารู้สึกนี่
สัญญาปัจจุบันมันไปจับอารมณ์มาแล้วประมวลเรื่อง
ตอนเป็นสัญญาไม่เยอะเป็นเด็ก มันจึงพูดไม่ออก
นึกเรื่องตอนเด็กไม่ได้?
อันนั้นตัวนึกคือสติ
และทั้งนี้เรื่องที่จะนึกมันต้องมีด้วย
ทีนี้ตอนเป็นเด็กสัญญามันยังไม่ชัดเจน
เห็นก็ไม่รู้ว่าอะไรเป็นอะไร
มันกำหนดยังไม่ถูก
กำหนดไม่ได้เลยเก็บข้อมูลไม่ลง
เมื่อเก็บไม่ได้ การจะดึงขึ้นมาเป็นเรื่องราวต่อเชื่อมันก็ไม่ได้
แต่เมื่อรู้ความแล้ว คือเรียกว่า "อินทรีย์แก่รอบ" สัก 6-7 ขวบ
เวลาอินทรีย์แก่รอบแล้ว มันคิดนึกได้แล้ว มันยึดได้
ยึดว่าเป็นตน เป็นของตน การกระทำเพื่อตัวตนก็เต็มไปหมด เป็นกรรม
วิธีการสังเกตภวังคจิต
ท่านก็แนะนำไว้ คือเอาผัสสะเป็นปัจจัยให้เกิดเวทนา
แล้วพิจารณาย้อนกลับ
ท่านมักให้พิจารณาธรรม 5 ประการในทวารทั้ง 6 (รวมเป็น 30 อายตนิกธรรม)
ชำนาญทวารไหนก็เอาทวารนั้นไปทำก่อนเวลาฝึก
เพราะอาศัยตาด้วย
อาศัยรูปท.ด้วย
เกิดจักขุวิญญาณ
การประชุมของธรรม 3 ประการเป็นผัสสะ
ผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาจึงมี
มนญฺจ ปฏิจฺจ ธมฺเม จ อุปฺปชฺชติ มโนวิญฺญาณํ
ติณฺณํ สงฺคติ ผสฺโส
ผสฺสปจฺจยา เวทนา
มนํ นี่แหละ ภวังคจิต
ถ้าพิจารณาไม่ออกลองพิจารณาไปทางตาก่อน
มารู้ความรู้สึกตอนนี้ก่อน สุข รึทุกข์ รึไม่ทุกข์ไม่สุข
สุขทุกข์ตอนนี้เกิดจากผัสสะ
ผัสสะเกิดจากอะไร
แล้วไล่ย้อนกลับว่าเกิดจากทวารไหน
มโนเฉยๆ กับมโนธาตุไม่เหมือนกัน
มโนธาตุ ถ้าว่าตามวิถีจิตจะหมายถึง ปัญจทวารวัชชน กับ สัมปฏิจฉันนะ
ถ้ามน หรือมโนเฉยๆ นี่จะหมายถึงภวังคจิต
ว่าตามวิถีจิต
การสังเกตภวังคจิต สังเกตจากมโนทวารจะง่ายกว่า
เพราะมันชั้นเดียว
สังเกตุไปที่ตัวรู้อารมณ์ (ตัวรู้อารมณ์คือ มโนวิญญาณ - ชวนะ)
ก่อนหน้ามโนวิญญาณหน่อยหนึ่ง นั่นล่ะภวังคจิต
เหมือนมองเห็น
อย่าไปสนใจสิ่งที่มองเห็น
สนใจที่ "การมองเห็น"
ก่อนหน้าการมองเห็น จะต้องมีอันนี้ มีอันนี้ กระทบกัน
ถ้าติดอารมณ์จะไม่เห็นตา รู้แต่ว่าเห็นอะไร (รู้เรื่อง)
ก่อนที่จะมองเห็น
ก่อนที่จะได้ยิน
สิ่งที่คั่นอยู่ คือภวังคจิต
มองเห็น สักหน่อยก็คิด
ได้ยิน สักหน่อยก็คิด สักหน่อยก็เห็น
ไอ้ขาดตอน ขาดๆ เหมือนไม่รู้อะไร นั่นคือภวังคจิต
ดูเหมือนขาดนะ
แต่ไม่ตายจากบุคคล
วันเสาร์ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
องค์มรรคโลกิยะ และโลกุตระ
องค์มรรคในโลกุตระ (มรรคจิต)
เกิดอันเดียวนี่แหละ แต่มีคุณสมบัติในการปิดกั้นตัวอื่น
เช่น สัมมาสังกัปปะในโลกุตรมรรค
ความคิดก็เกิดอันเดียวนี่แหละ
แต่ก็ได้ชื่อ 3 อพยาปาท เนกขัมมะ อวิหิงสา
คือเกิดอันเดียว แต่มีคุณสมบัติปิดกั้นโอกาสเกิดขึ้นอีกของตัวอื่น
แต่ถ้าเป็นสัมมาสังกัปปะในโลกิยมรรค
ก็คือเกิดเป็นอันๆ ไป
สัมมาวาจาที่เป็นโลกุตระ
ก็เป็นเจตสิกอันเดียว
เกิดประกอบกับองค์อื่นๆ แล้วก็ได้ชื่อ 4 เหมือนกัน (ไม่เท็จ, ไม่หยาบ, ไม่ส่อเสียด, ไม่เพ้อเจ้อ)
แต่ไม่ได้มี 4 มีอันเดียว เกิดอันเดียว
แต่อันเดียวที่เกิดสามารถป้องกันและปิดทางอีก 4 อัน
ทำให้หมดเงื่อนไขที่จะเกิดอีก 4
แต่ตอนโลกิยะนี่คือเจตนาที่จะงดเว้นเป็นอย่างๆ ไป
ตอนฝึกนี่คือต้องพยายามงดเอา
แต่พอเป็นสัมมาวาจาแบบโสดาบัน
วจีทุจริตแบบพูดเท็จก็ไม่เกิดอีก ถูกปิดโอกาสไปเลย
ในตอนเป็นองค์มรรค คือ เจตสิก 8 มารวมในจิต
แต่ในตอนเป็นโลกิยคือ ทำอย่างไร ทั้ง 8 นี้จะโต จะเจริญ
เหมือนความรู้ในตอนโลกิยะ
อริยสัจก็รู้ทีละองค์ รู้นี่เป็นทุกข์บ้าง รู้นี่เป็นเหตุบ้าง
ตอนโลกุตตระนี่ สัมมาทิฏฐิ ความรู้อันเดียวจะรู้สัจจะทั้ง 4
ยิ่งสัมมาสมาธิถ้าไม่รู้จะอธิบายเข้าป่าไป
สัมมาสมาธิในมรรคสัจจ์ อธิบายด้วยฌาน 1-2-3-4
แต่ถ้าไปอธิบายว่า จะต้องได้ฌาน 1-2-3-4 จึงจะบรรลุ (อันนี้อธิบายผิด)
ผิดเพราะเวลาองค์มรรคเกิด
สัมมาสมาธิก็คือ เอกัคตา อันเดียว ไม่ได้เกิดทั้ง 4
ความตั้งมั่นของจิตนี่มี 4 ระดับที่เป็นฐานรองรับองค์มรรคได้
เวลาเกิดมรรคจิต คือต้องได้ระดับใดระดับหนึ่ง อันเดียว
เชี่ยวอันไหนก็ได้อันนั้นแหละ
เอกัคตานี้เป็นชื่อของฌาน 1 ก็ได้
ฌาน 2 ก็ได้
ฌาน 3 ก็ได้
ฌาน 4 ก็ได้
แต่คืออันใดอันนึง
สัมมาวายามะในมรรคจิต
ก็มีอันเดียว ไม่ได้มี 4
สัมมาสติในมรรคจิต
ก็มีีอันเดียวไม่ได้มี 4 (รู้กาย, เวทนา, จิต, ธรรม)
ตอนเป็นมรรคจิตนี่ไม่ได้มี 4 อย่างนี้เป็นอารมณ์ด้วยซ้ำ
มีนิพพานเป็นอารมณ์
เป็นเจตสิกอันเดียว เกิดประกอบกับองค์มรรคอีก 7 แต่ได้ชื่อ 4 อันเลย
ซึ่งเรียกว่าเป็นการอธิบายตาม "อาหาร" ที่ได้มา
เหมือนเรียกคนคนนึง บางทีเรียกชื่อแม่ 5555
เกิดอันเดียวนี่แหละ แต่มีคุณสมบัติในการปิดกั้นตัวอื่น
เช่น สัมมาสังกัปปะในโลกุตรมรรค
ความคิดก็เกิดอันเดียวนี่แหละ
แต่ก็ได้ชื่อ 3 อพยาปาท เนกขัมมะ อวิหิงสา
คือเกิดอันเดียว แต่มีคุณสมบัติปิดกั้นโอกาสเกิดขึ้นอีกของตัวอื่น
แต่ถ้าเป็นสัมมาสังกัปปะในโลกิยมรรค
ก็คือเกิดเป็นอันๆ ไป
สัมมาวาจาที่เป็นโลกุตระ
ก็เป็นเจตสิกอันเดียว
เกิดประกอบกับองค์อื่นๆ แล้วก็ได้ชื่อ 4 เหมือนกัน (ไม่เท็จ, ไม่หยาบ, ไม่ส่อเสียด, ไม่เพ้อเจ้อ)
แต่ไม่ได้มี 4 มีอันเดียว เกิดอันเดียว
แต่อันเดียวที่เกิดสามารถป้องกันและปิดทางอีก 4 อัน
ทำให้หมดเงื่อนไขที่จะเกิดอีก 4
แต่ตอนโลกิยะนี่คือเจตนาที่จะงดเว้นเป็นอย่างๆ ไป
ตอนฝึกนี่คือต้องพยายามงดเอา
แต่พอเป็นสัมมาวาจาแบบโสดาบัน
วจีทุจริตแบบพูดเท็จก็ไม่เกิดอีก ถูกปิดโอกาสไปเลย
ในตอนเป็นองค์มรรค คือ เจตสิก 8 มารวมในจิต
แต่ในตอนเป็นโลกิยคือ ทำอย่างไร ทั้ง 8 นี้จะโต จะเจริญ
เหมือนความรู้ในตอนโลกิยะ
อริยสัจก็รู้ทีละองค์ รู้นี่เป็นทุกข์บ้าง รู้นี่เป็นเหตุบ้าง
ตอนโลกุตตระนี่ สัมมาทิฏฐิ ความรู้อันเดียวจะรู้สัจจะทั้ง 4
ยิ่งสัมมาสมาธิถ้าไม่รู้จะอธิบายเข้าป่าไป
สัมมาสมาธิในมรรคสัจจ์ อธิบายด้วยฌาน 1-2-3-4
แต่ถ้าไปอธิบายว่า จะต้องได้ฌาน 1-2-3-4 จึงจะบรรลุ (อันนี้อธิบายผิด)
ผิดเพราะเวลาองค์มรรคเกิด
สัมมาสมาธิก็คือ เอกัคตา อันเดียว ไม่ได้เกิดทั้ง 4
ความตั้งมั่นของจิตนี่มี 4 ระดับที่เป็นฐานรองรับองค์มรรคได้
เวลาเกิดมรรคจิต คือต้องได้ระดับใดระดับหนึ่ง อันเดียว
เชี่ยวอันไหนก็ได้อันนั้นแหละ
เอกัคตานี้เป็นชื่อของฌาน 1 ก็ได้
ฌาน 2 ก็ได้
ฌาน 3 ก็ได้
ฌาน 4 ก็ได้
แต่คืออันใดอันนึง
สัมมาวายามะในมรรคจิต
ก็มีอันเดียว ไม่ได้มี 4
สัมมาสติในมรรคจิต
ก็มีีอันเดียวไม่ได้มี 4 (รู้กาย, เวทนา, จิต, ธรรม)
ตอนเป็นมรรคจิตนี่ไม่ได้มี 4 อย่างนี้เป็นอารมณ์ด้วยซ้ำ
มีนิพพานเป็นอารมณ์
เป็นเจตสิกอันเดียว เกิดประกอบกับองค์มรรคอีก 7 แต่ได้ชื่อ 4 อันเลย
ซึ่งเรียกว่าเป็นการอธิบายตาม "อาหาร" ที่ได้มา
เหมือนเรียกคนคนนึง บางทีเรียกชื่อแม่ 5555
วันพฤหัสบดีที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
ความหวั่นไหวเป็นโรค
ความหวั่นไหวเป็นชื่อของตัณหา
ตัณหารักตัวเอง
เห็นความหวั่นไหวต้องชี้ได้
นี่มันทำให้เกิดอีก
ไม่ใช่ไปชี้หน้าไอ้หมอนั่น
ความหวั่นไหวกลัวตนจะไม่ปลอดภัย
กลัวตนจะแก่
กลัวตนจะถูกด่า
ฯลฯ
กลัวของตนจะ...
กลัวลูกของตนจะ...
กลัวประเทศของตนจะ...
ความหวั่นไหวนี้ฉุดคร่าบุรุษไปเกิดในภพ
ตัณหารักตัวเอง
เห็นความหวั่นไหวต้องชี้ได้
นี่มันทำให้เกิดอีก
ไม่ใช่ไปชี้หน้าไอ้หมอนั่น
ความหวั่นไหวกลัวตนจะไม่ปลอดภัย
กลัวตนจะแก่
กลัวตนจะถูกด่า
ฯลฯ
กลัวของตนจะ...
กลัวลูกของตนจะ...
กลัวประเทศของตนจะ...
ความหวั่นไหวนี้ฉุดคร่าบุรุษไปเกิดในภพ
วันพุธที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
สัญญา
สัญญาเป็นวิบาก ไม่ได้เป็นกิเลส
จำตามวิญญาณ
สัญญาเกิดกับจิตทุกดวง กำหนดสิ่งที่วิญญาณเห็น
ปัญญาจะทำให้วิญญาณเห็นได้ลึกซึ้งเพียงไร
สัญญาก็จะจำไปลึกซึ้งเพียงนั้น
การเปลี่ยนสัญญาก็ต้องเปลี่ยน
มาฝึกปัญญา ให้มันเห็นลึกซึ้งยิ่งขึ้น
สัญญาก็มาเปลี่ยนใหม่ เป็นไม่เที่ยง เป็นทุกข์
สัญญาประเภทนี้ก็จะกลายเป็นสัญญาที่ดีที่ถูกต้อง (ความหมายคือนำไปสู่ความพ้นทุกข์ได้)
ปปัญจ
กำหนดเอาแบบสลับซับซ้อน กำหนดมาจากตัณหา
อันนี้สวยมาก อันนี้ของเรา
อันนี้ทั่วไป อันนี้หายาก ก็กำหนดค่าราคาสูง
หรือกำหนดจากทัศนคติ อุดมคติ
เช่น ยุคไหนมีทัศนคติว่ามีเงินเยอะนี่ดี
ก็จะจำซับซ้อน เวลามองก็จะมองคนรวยนี่ดี
ถ้าสัญญาไม่ซับซ้อนก็
นี่เป็นนี่ นั่นเป็นนั่น
อันนี้สีแดง อันนี้รถ
ไม่รู้จักสัญญา
ก็ไปปรุงตามสัญญา
เป็นวิตก
เมื่อปฏิบัติธรรม สัญญาซับซ้อนก็จะค่อยๆ หมดไป
เมื่อสติปัญญาค่อยๆ ดีขึ้น ก็ขยายการรับรู้ของวิญญาณ
มองได้แคบได้กว้าง ขึ้นกับทิฏฐิ ขึ้นกับตัณหา
ความแคบไม่ใช่ธรรมชาติของวิญญาณ แต่เป็นธรรมชาติการสร้างขอบเขตมุมมองของทิฏฐิกับตัณหา
มองเห็นแต่จะเอามาให้ตน
มองเห็นแต่อะไรที่เหมาะกับเรา
กลายเป็นความคับแคบไป
พอปัญญาส่องเข้าไป
วิญญาณก็เห็นสิ่งที่ไม่เคยเห็น
จำตามวิญญาณ
สัญญาเกิดกับจิตทุกดวง กำหนดสิ่งที่วิญญาณเห็น
ปัญญาจะทำให้วิญญาณเห็นได้ลึกซึ้งเพียงไร
สัญญาก็จะจำไปลึกซึ้งเพียงนั้น
การเปลี่ยนสัญญาก็ต้องเปลี่ยน
มาฝึกปัญญา ให้มันเห็นลึกซึ้งยิ่งขึ้น
สัญญาก็มาเปลี่ยนใหม่ เป็นไม่เที่ยง เป็นทุกข์
สัญญาประเภทนี้ก็จะกลายเป็นสัญญาที่ดีที่ถูกต้อง (ความหมายคือนำไปสู่ความพ้นทุกข์ได้)
ปปัญจ
กำหนดเอาแบบสลับซับซ้อน กำหนดมาจากตัณหา
อันนี้สวยมาก อันนี้ของเรา
อันนี้ทั่วไป อันนี้หายาก ก็กำหนดค่าราคาสูง
หรือกำหนดจากทัศนคติ อุดมคติ
เช่น ยุคไหนมีทัศนคติว่ามีเงินเยอะนี่ดี
ก็จะจำซับซ้อน เวลามองก็จะมองคนรวยนี่ดี
ถ้าสัญญาไม่ซับซ้อนก็
นี่เป็นนี่ นั่นเป็นนั่น
อันนี้สีแดง อันนี้รถ
ไม่รู้จักสัญญา
ก็ไปปรุงตามสัญญา
เป็นวิตก
เมื่อปฏิบัติธรรม สัญญาซับซ้อนก็จะค่อยๆ หมดไป
เมื่อสติปัญญาค่อยๆ ดีขึ้น ก็ขยายการรับรู้ของวิญญาณ
มองได้แคบได้กว้าง ขึ้นกับทิฏฐิ ขึ้นกับตัณหา
ความแคบไม่ใช่ธรรมชาติของวิญญาณ แต่เป็นธรรมชาติการสร้างขอบเขตมุมมองของทิฏฐิกับตัณหา
มองเห็นแต่จะเอามาให้ตน
มองเห็นแต่อะไรที่เหมาะกับเรา
กลายเป็นความคับแคบไป
พอปัญญาส่องเข้าไป
วิญญาณก็เห็นสิ่งที่ไม่เคยเห็น
วันจันทร์ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
เวทนาที่ควรเสพ
เวทนาที่ควรเสพ
คือ เวทนาที่เสพแล้วทำให้อกุศลเสื่อม กุศลเจริญขึ้น
โสมนัสที่ควรเสพก็มี
ที่ไม่ควรเสพก็มี
โทมนัสที่ควรเสพก็มี
ที่ไม่ควรเสพก็มี
เช่น โทมนัสที่เกิดตอนพรากออกจากกาม
อันควรเสพ ได้แก่ เนกขัมมะ
อุเบกขาที่ควรเสพก็มี
ที่ไม่ควรเสพก็มี
ส่วนมากจะติดกันที่ (จุดพลาด)
รู้เป็นตัวตน ไม่ได้รู้เป็นเวทนา
จึงจำเป็นที่จะต้องแยกชัดๆ ก่อนว่า
รู้เวทนาอันใด แยกก่อนว่ามันไม่มีตัวตน
ทำอะไรแล้วทำเอามาให้ตัวตนจึงไม่เกิดผลในทางปฏิบัติ
ต้องค้นคว้าให้ดี
ให้รู้จักทุกข์
ให้รู้จักเหตุ
ให้รู้จักความดับ
จะได้ไม่พาตัวเองไปทำให้เกิดทุกข์วนอยู่อย่างนั้น
ทำอะไรต้องไม่เอาตัณหาออกหน้า
เพราะตัณหามันเป็นเหตุเกิดทุกข์
ต้องเอาปัญญาออกหน้า
ปัญญาออกหน้าเป็นมรรค
พวกเราส่วนใหญ่ชอบทำตามใจอยาก
ชอบทำตามใจคิด
คิดว่าจะดีก็ทำ คิดว่าได้ผลก็ทำ
คิดว่าไม่ดีก็ไม่ทำ คิดว่าไม่ได้ผลก็ไม่ทำ มีแต่เรื่องอยาก
คือ เวทนาที่เสพแล้วทำให้อกุศลเสื่อม กุศลเจริญขึ้น
โสมนัสที่ควรเสพก็มี
ที่ไม่ควรเสพก็มี
โทมนัสที่ควรเสพก็มี
ที่ไม่ควรเสพก็มี
เช่น โทมนัสที่เกิดตอนพรากออกจากกาม
อันควรเสพ ได้แก่ เนกขัมมะ
อุเบกขาที่ควรเสพก็มี
ที่ไม่ควรเสพก็มี
ส่วนมากจะติดกันที่ (จุดพลาด)
รู้เป็นตัวตน ไม่ได้รู้เป็นเวทนา
จึงจำเป็นที่จะต้องแยกชัดๆ ก่อนว่า
รู้เวทนาอันใด แยกก่อนว่ามันไม่มีตัวตน
ทำอะไรแล้วทำเอามาให้ตัวตนจึงไม่เกิดผลในทางปฏิบัติ
ต้องค้นคว้าให้ดี
ให้รู้จักทุกข์
ให้รู้จักเหตุ
ให้รู้จักความดับ
จะได้ไม่พาตัวเองไปทำให้เกิดทุกข์วนอยู่อย่างนั้น
ทำอะไรต้องไม่เอาตัณหาออกหน้า
เพราะตัณหามันเป็นเหตุเกิดทุกข์
ต้องเอาปัญญาออกหน้า
ปัญญาออกหน้าเป็นมรรค
พวกเราส่วนใหญ่ชอบทำตามใจอยาก
ชอบทำตามใจคิด
คิดว่าจะดีก็ทำ คิดว่าได้ผลก็ทำ
คิดว่าไม่ดีก็ไม่ทำ คิดว่าไม่ได้ผลก็ไม่ทำ มีแต่เรื่องอยาก
อิสสา VS มัจฉริยะ
อิสสา -- ของเขา
อิจฉาของเขา
ทนไม่ได้ ที่ของเขาดีกว่า
มัจฉริยะ -- ของเรา
ตระหนี่ของเรา
อิจฉาของเขา
ทนไม่ได้ ที่ของเขาดีกว่า
มัจฉริยะ -- ของเรา
ตระหนี่ของเรา
วันอังคารที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2561
ปัจจเวกขณะ
ปัจจเวกขณวิถี
มีการพิจารณาอยู่ 5 อย่าง
พิจารณามรรค
พิจารณาผล
พิจารณานิพพาน
พิจารณากิเลสละแล้ว
พิจารณากิเลสเหลืออยู่
บุคคลธรรมดาทั่วไป บางคนท่านก็ว่ารู้ครบบ้างไม่ครบบ้าง รู้อันเดียวบ้าง สองอันบ้าง
บางคนรู้มรรค
บางคนรู้ผล
บางคนรู้นิพพาน
บางคนรู้กิเลสละแล้ว
บางคนรู้กิเลสเหลืออยู่
บางคน....รู้ไม่ทัน 5555
คนเห็นจิตเขายังตัดสินภูมิธรรมเขาไม่ได้เลย
มองจิตเขาเห็นเลยนะ
สาอะไรกับคนทั่วไป
คือมันไวมาก ตามจิตนิยามไม่ทัน
คือตามจิตนิยามมันก็รู้ได้ตามนั้น
แต่เวลาปัญญาเดินจริงอาจไม่ได้รู้ตามนั้นทั้งหมด
เหมือนอภิญญา ก็ใช่จะรู้ได้ทั้งหมดตามที่ท่านว่า
พระอรหันต์จึงยังต้องไปฟังธรรมพระพุทธเจ้า
เพราะบางทีไม่รู้เรื่อง
หรือรู้ก็ไม่รู้ว่าอะไร คือ อะไรก็ไม่รู้
จิตตนิยามมันไว ปัญญาอาจจะตามไม่ทัน
ท่านจึงไม่ได้ให้เอาอาการเหล่านี้เป็นเครื่องวัดความเป็นโสดาบัน
แต่ให้ใช้คุณธรรมภายใน "โสดาปัตติยังคะ"
ถ้าผ่านโสดาปัตติมรรคมา
คุณธรรมเหล่านี้จะครบถ้วน
มีการพิจารณาอยู่ 5 อย่าง
พิจารณามรรค
พิจารณาผล
พิจารณานิพพาน
พิจารณากิเลสละแล้ว
พิจารณากิเลสเหลืออยู่
บุคคลธรรมดาทั่วไป บางคนท่านก็ว่ารู้ครบบ้างไม่ครบบ้าง รู้อันเดียวบ้าง สองอันบ้าง
บางคนรู้มรรค
บางคนรู้ผล
บางคนรู้นิพพาน
บางคนรู้กิเลสละแล้ว
บางคนรู้กิเลสเหลืออยู่
บางคน....รู้ไม่ทัน 5555
คนเห็นจิตเขายังตัดสินภูมิธรรมเขาไม่ได้เลย
มองจิตเขาเห็นเลยนะ
สาอะไรกับคนทั่วไป
คือมันไวมาก ตามจิตนิยามไม่ทัน
คือตามจิตนิยามมันก็รู้ได้ตามนั้น
แต่เวลาปัญญาเดินจริงอาจไม่ได้รู้ตามนั้นทั้งหมด
เหมือนอภิญญา ก็ใช่จะรู้ได้ทั้งหมดตามที่ท่านว่า
พระอรหันต์จึงยังต้องไปฟังธรรมพระพุทธเจ้า
เพราะบางทีไม่รู้เรื่อง
หรือรู้ก็ไม่รู้ว่าอะไร คือ อะไรก็ไม่รู้
จิตตนิยามมันไว ปัญญาอาจจะตามไม่ทัน
ท่านจึงไม่ได้ให้เอาอาการเหล่านี้เป็นเครื่องวัดความเป็นโสดาบัน
แต่ให้ใช้คุณธรรมภายใน "โสดาปัตติยังคะ"
ถ้าผ่านโสดาปัตติมรรคมา
คุณธรรมเหล่านี้จะครบถ้วน
- ความเลื่อมใสไม่หวั่นไหวในพระพุทธ
- ความเลื่อมใสไม่หวั่นไหวในพระธรรม
- ความเลื่อมใสไม่หวั่นไหวในพระสงฆ์
- มีอริยกันตศีล
วันพฤหัสบดีที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2561
วันอังคารที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2561
แค่ไม่ทำไม่ดี แค่นี้ก็ดีแล้ว?
แค่ไม่คิดไม่ดี
แค่ไม่พูดไม่ดี
แค่ไม่ทำไม่ดี
แค่นี้ก็ดีแล้ว? แค่นี้ก็พอแล้ว?
แค่ไม่พูดไม่ดี
แค่ไม่ทำไม่ดี
แค่นี้ก็ดีแล้ว? แค่นี้ก็พอแล้ว?
มโนทุจริต vs อกุศลสังกัปปะ
สังกัปปะ
เหมือนเราคิดขึ้นมาเฉยๆ
วันๆ คิดไม่ดีมีเยอะแยะ
แต่ถ้าไม่มี "เจตนาประกอบ" ก็ไม่ถือเป็นมโนทุจริต
แต่เป็นอกุศลสังกัปปะ
คือเป็นความคิดที่เป็นอกุศล
แต่ไม่เป็นทุจริต
การที่เจตนาเข้าประกอบ
ชักนำไปทางนู้นทางนี้ จึงจะเป็นทุจริต/สุจริต
ส่วนความคิดเฉยๆ เช่น เห็นคนเดินมา "กระแดะจังคนนี้"
อันนี้เป็นคิดเฉยๆ ไม่ได้มีกรรมอะไร
แต่ความคิดนี้จะดับไป (ไม่เกิดอีก) ก็ต่อเมื่อเป็นอนาคามี
พระโสดาบันก็ยังคิดอย่างนี้ แต่ไม่มีปัญหากับมัน
แต่ปุถุชนบางทีไปถูกมันครอบต่อ "กระแดะจริงๆ ด้วย"
เหมือนเราคิดขึ้นมาเฉยๆ
วันๆ คิดไม่ดีมีเยอะแยะ
แต่ถ้าไม่มี "เจตนาประกอบ" ก็ไม่ถือเป็นมโนทุจริต
แต่เป็นอกุศลสังกัปปะ
คือเป็นความคิดที่เป็นอกุศล
แต่ไม่เป็นทุจริต
การที่เจตนาเข้าประกอบ
ชักนำไปทางนู้นทางนี้ จึงจะเป็นทุจริต/สุจริต
ส่วนความคิดเฉยๆ เช่น เห็นคนเดินมา "กระแดะจังคนนี้"
อันนี้เป็นคิดเฉยๆ ไม่ได้มีกรรมอะไร
แต่ความคิดนี้จะดับไป (ไม่เกิดอีก) ก็ต่อเมื่อเป็นอนาคามี
พระโสดาบันก็ยังคิดอย่างนี้ แต่ไม่มีปัญหากับมัน
แต่ปุถุชนบางทีไปถูกมันครอบต่อ "กระแดะจริงๆ ด้วย"
วันพฤหัสบดีที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2561
นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ
อาโรคฺยปรมา ลาภา
ความไม่มีโรคเป็นลาภอย่างยิ่ง
สนฺตุฏฺฐีปรมํ ธนํ
ความสันโดษเป็นทรัพย์อย่างยิ่ง
วิสฺสาสปรมา ญาติ
ความคุ้นเคยเป็นญาติอย่างยิ่ง
นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ
นิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง
ความไม่มีโรคเป็นลาภอย่างยิ่ง
สนฺตุฏฺฐีปรมํ ธนํ
ความสันโดษเป็นทรัพย์อย่างยิ่ง
วิสฺสาสปรมา ญาติ
ความคุ้นเคยเป็นญาติอย่างยิ่ง
นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ
นิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง
นิพฺพานปจฺจโย โหตุ
เขียนได้ 2 แบบ
นิพฺพานปจฺจโย โหตุ
นิพฺพานสฺส ปจฺจโย โหตุ
(ขอให้การกระทำนี้ๆ) จงเป็นปัจจัย แก่พระนิพพาน
อะไรที่เป็นฝ่ายบุญฝ่ายกุศล สามารถเป็นปัจจัยแก่นิพพานได้ทั้งนั้น
ทั้ง 2 คำนี้ไม่มีในบาลี
ในบาลีมีคำว่า นิพฺพานาย สํวตฺตติ
แม้แต่เรื่องเล็กๆ น้อยๆ ก็ "นิพฺพานาย สํวตฺตติ" (อันนี้พบในธรรมจักร)
"นิพฺพานสฺส สจฺฉิกิริยาย" (อันนี้พบในสติปัฏฐานสูตร)
"นิพฺพานสฺส เม ภนฺเต สจฺฉิกรณตฺถาย กมฺมฏฺฐานํ เทหิ"
อันนี้ปรากฏในคำขอกรรมฐาน อันนี้คำแต่งขึ้น
นิพฺพานปจฺจโย โหตุ
นิพฺพานสฺส ปจฺจโย โหตุ
(ขอให้การกระทำนี้ๆ) จงเป็นปัจจัย แก่พระนิพพาน
อะไรที่เป็นฝ่ายบุญฝ่ายกุศล สามารถเป็นปัจจัยแก่นิพพานได้ทั้งนั้น
ทั้ง 2 คำนี้ไม่มีในบาลี
ในบาลีมีคำว่า นิพฺพานาย สํวตฺตติ
แม้แต่เรื่องเล็กๆ น้อยๆ ก็ "นิพฺพานาย สํวตฺตติ" (อันนี้พบในธรรมจักร)
"นิพฺพานสฺส สจฺฉิกิริยาย" (อันนี้พบในสติปัฏฐานสูตร)
"นิพฺพานสฺส เม ภนฺเต สจฺฉิกรณตฺถาย กมฺมฏฺฐานํ เทหิ"
อันนี้ปรากฏในคำขอกรรมฐาน อันนี้คำแต่งขึ้น
เธอทั้งหลายจงเจริญสมาธิเถิด
ภิกษุทั้งหลาย
เธอทั้งหลายจงเจริญสมาธิเถิด
ผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้วย่อมรู้ชัดตามความเป็นจริง
เธอทั้งหลายจงเจริญสมาธิเถิด
ผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้วย่อมรู้ชัดตามความเป็นจริง
นิสสรณะ
ทางออก
ออกคือออกจากโทษ
ใช้แต่ส่วนที่เป็นประโยชน์
ใช้ประโยชน์จากโลกตามปกติ
แต่เมื่อมันไม่เที่ยง ก็ไม่เป็นไร ถอนตัวออกมาจากมันแล้ว
อริยมรรคนี่เดินไปบนฐานของความสุข
ตัวปัญญาก็กวาดทางไปเรื่อยๆ
ออกคือออกจากโทษ
ใช้แต่ส่วนที่เป็นประโยชน์
ใช้ประโยชน์จากโลกตามปกติ
แต่เมื่อมันไม่เที่ยง ก็ไม่เป็นไร ถอนตัวออกมาจากมันแล้ว
อริยมรรคนี่เดินไปบนฐานของความสุข
ตัวปัญญาก็กวาดทางไปเรื่อยๆ
วันพุธที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2561
เราถูกยุงกัด
เรา-ถูก-ยุงกัด
ถ้าจะเรียงตามสภาวะมันจะออกมาเป็น
ถูกกัด-คัน-เรา
นี่เรียงแบบปฏิจจฯ
แท้ที่จริงสิ่งที่มีอยู่ก่อนคือรูปนาม ขันธ์ 5 ที่มาตามกรรม
มีลมหายใจเข้าออก กรรมเก่ารักษาไว้ ยังไม่ตาย
ดินน้ำไฟลมยังประชุมอยู่ในร่างนี้
มีจิตเกิดดับอยู่ในร่างนี้
ร่างนี้มีเลือดเนื้อ
ยุงเห็นความหอมหวล
ก็เลยเอาปากยุงมาสัมผัสเสียหน่อย
ปากมันก็จี้ลงไปในผิวหนัง
ในหนังนี้มันมีกายประสาทซึมซาบอยู่
เมื่อกายประสาทกับปากของยุงชนกัน
ก็เกิดการรับรู้ คือกายวิญญาณ
ธรรม 3 ประการรวมเป็นผัสสะ
เพราะผัสสะ ย่อมเกิดเวทนา
เพื่อเป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อปากของยุง
เพราะกายนี้มันเป็นของทุกข์ทนยาก
เมื่อมีอะไรจิ้มเข้าไป มันก็ออกอาการ ทนไม่ได้ ทนไม่ไหว เรียกว่า คัน เป็นต้น
(นี่ก็เป็นเวทนา ไม่ได้มีคนอะไรในที่ไหน)
พอคันแล้ว
ถ้าไม่รู้จักเวทนาตามความเป็นจริง
ตัณหาก็โผล่มา ความรักตนออกหน้า
แล้วก็ยึดว่า
"ตน" เป็นผู้ถูก "ยุงกัด"
"ตน" คัน
"ตน" เป็นผู้ถูกกระทำ
เรียงถูกต้องก็จะช่วยพิจารณาสภาวะ
ถ้าเรียงไม่ทันก็ตบพั๊วะ!!!
ถ้าจะเรียงตามสภาวะมันจะออกมาเป็น
ถูกกัด-คัน-เรา
นี่เรียงแบบปฏิจจฯ
แท้ที่จริงสิ่งที่มีอยู่ก่อนคือรูปนาม ขันธ์ 5 ที่มาตามกรรม
มีลมหายใจเข้าออก กรรมเก่ารักษาไว้ ยังไม่ตาย
ดินน้ำไฟลมยังประชุมอยู่ในร่างนี้
มีจิตเกิดดับอยู่ในร่างนี้
ร่างนี้มีเลือดเนื้อ
ยุงเห็นความหอมหวล
ก็เลยเอาปากยุงมาสัมผัสเสียหน่อย
ปากมันก็จี้ลงไปในผิวหนัง
ในหนังนี้มันมีกายประสาทซึมซาบอยู่
เมื่อกายประสาทกับปากของยุงชนกัน
ก็เกิดการรับรู้ คือกายวิญญาณ
ธรรม 3 ประการรวมเป็นผัสสะ
เพราะผัสสะ ย่อมเกิดเวทนา
เพื่อเป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อปากของยุง
เพราะกายนี้มันเป็นของทุกข์ทนยาก
เมื่อมีอะไรจิ้มเข้าไป มันก็ออกอาการ ทนไม่ได้ ทนไม่ไหว เรียกว่า คัน เป็นต้น
(นี่ก็เป็นเวทนา ไม่ได้มีคนอะไรในที่ไหน)
พอคันแล้ว
ถ้าไม่รู้จักเวทนาตามความเป็นจริง
ตัณหาก็โผล่มา ความรักตนออกหน้า
แล้วก็ยึดว่า
"ตน" เป็นผู้ถูก "ยุงกัด"
"ตน" คัน
"ตน" เป็นผู้ถูกกระทำ
เรียงถูกต้องก็จะช่วยพิจารณาสภาวะ
ถ้าเรียงไม่ทันก็ตบพั๊วะ!!!
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)